Page 271 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 271

๒๕๘




                     ผู้เสียหาย ผู้กระท าความผิดและสังคมให้ดีที่สุดเท่าที่จะท าได้ สรุปได้ว่ามาตรการดังกล่าวมีจุดมุ่งหมาย
                     ส าคัญดังนี้

                                * เพิ่มความรับผิดชอบของผู้กระท าความผิดส าหรับการกระท าผิดที่เกิดขึ้น

                                * ส่งเสริมให้ผู้เสียหายเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการทั้งหมด
                                * ปกป้องสังคมโดยการยับยั้งมิให้ผู้กระท าความผิดกลับมากระท าผิดซ้ าอีก

                                * เพิ่มพูนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
                                * ให้ชุมชนเข้ามาแก้ไขปัญหาในอาชญากรรม และแก้ไขความต้องการของผู้เสียหายและ

                     ผู้กระท าความผิดและ

                                *ปกป้องผลประโยชน์ของสังคม
                                                          ๓๒
                                จากหลักการและแนวความคิดของมาตรการดังกล่าว จะเห็นได้ว่ามีลักษณะเหมือนกับ

                     แนวคิดของกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์(Restorative justice) ที่เป็นกระบวนการที่มุ่งเน้นไปที่

                     การแก้ไขความเสียหายที่เกิดขึ้น โดยการให้โอกาสผู้กระท าความผิดแสดงออกซึ่งความรับผิดชอบและ
                     ผู้เสียหายได้รับการเยียวยาและยังมุ่งเน้นไปที่ความต้องการอื่นๆ หลังจากมีความผิดเกิดขึ้น จึงอาจกล่าว

                     ได้ว่ากระบวนการนี้มุ่งให้โอกาสผู้เสียหาย ผู้กระความผิดและชุมชนที่ได้รับผลกระทบจากอาชญากรรมมี
                                 ู
                     โอกาสติดต่อพดคุยกันทั้งทางตรงและทางอ้อมเกี่ยวกับสาเหตุ สภาพแวดล้อมและผลกระทบที่ได้รับจาก
                         ่
                     การกออาชญากรรมและเข้าแก้ไขที่ความต้องการของแต่ละฝ่าย วิธีการที่ใช้มีทั้งการประชุมปรึกษาหารือ
                                        ู
                     การสนทนา หรือการพดคุยในวงสนทนา โดยมีผู้เจรจาไกล่เกลี่ยที่มีความสามารถคอยเป็นผู้ให้ค าแนะน า
                                                                               ั้
                     โดยอาจมีรูปแบบแตกต่างกันตามความเหมาะสมและน าไปใช้ได้ในทุกขนตอนของกระบวนการยุติธรรม
                     ทั้งส าหรับเด็กและผู้ใหญ่ โดยตั้งอยู่บนพนฐานว่า อาชญากรรมท าลายบุคคลและสัมพนธภาพ ดังนั้น
                                                       ื้
                                                                                             ั
                                                    ื้
                     หลักการของกระบวนนี้จึงตั้งอยู่บนพนฐานความเคารพ ความเมตตาและการรวมตัวกัน กระตุ้นให้เกิด
                              ั
                     ความผูกพนและความรับผิดชอบที่มีความหมาย รวมถึงให้โอกาสในการเยียวยา การแก้ไขและการ
                                                                                                 ิ
                                                                                  ื่
                                       ๓๓
                                   ี
                     กลับคืนสู่สังคมอกครั้ง  ดังนั้นจึงอาจกล่าวได้ว่าการมาตรการทางเลือกอนหรือมาตรการพเศษโดยไม่
                     ผ่านกระบวนการทางศาล(Alternative Measures)/(Extrajudicial measures programs) เกิดขึ้นจาก
                     คุณค่า หลักการและกระบวนการของกระบวนการเชิงสมานฉันท์ ซึ่งกระบวนการนี้อาจเกิดขึ้นใน
                     หลากหลายรูปแบบขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ และประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้นในแต่ละชุมชน
                                                                                          ๓๔





                            ๓๒  Government of Saskachewan Ministry of Justice, Alternative Measures and Extrajudicial
                     Sanctions Program Manual, p.2
                            ๓๓  Government of Canada, “Restorative Justice,” Retrieved on July 20, 2021 from

                     https://justice.go.ca//eng/cj-jp/rj-jr/index.html
                            ๓๔  Government of Saskachewan Ministry of Justice, Alternative Measures and Extrajudicial
                     Sanctions Program Manual, p.3
   266   267   268   269   270   271   272   273   274   275   276