Page 267 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 267

๒๕๔




                     เดิมประเทศแคนนา มีกฎหมายส าหรับเด็กที่กระท าผิดที่เรียกว่า  Young Offender’s Act (YOA)
                     บังคับใช้ตั้งแต่ปี ๒๕๒๗ ถึง ปี ๒๕๔๖ แม้ว่ากฎหมายดังกล่าวจะให้ความส าคัญกับการเข้าใจถึงความ

                     ต้องการของเด็กที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมเบี่ยงเบน (Deviancy) แต่กฎหมายก็ไม่ได้แสดงออกถึงความ

                     ชัดเจนในวัตถุประสงค์และปรัชญาของความยุติธรรมที่จะช่วยเหลือผู้ปฏิบัติงานในกระบวนการยุติธรรม
                     ส าหรับเด็ก (Youth Justice Practitioners) ผลเสียที่ติดตามมาจากการบังคับใช้กฎหมายดังกล่าวก็คือ

                                                                              ิ
                     ระบบของกระบวนการยุติธรรมล้มเหลวอย่างสิ้นเชิงในการแยกแยะพจารณาว่าความผิดประเภทใดเป็น
                     ความผิดร้ายแรง หรือเป็นความผิดเล็กน้อย (Serious and minor offences) ข้อบกพร่องดังกล่าว

                                                           ิ
                                                                   ิ
                     ส่งผลมาถึงศาลเยาวชนที่ต้องรับภาระในการพจารณาพพากษาคดีในความผิดเล็กน้อย และรวมถึงการ
                     พิพากษาคดีในทางปฏิบัติที่มีทั้งความไม่แน่นอนและไม่มความเป็นธรรม และนอกจากนี้ยังส่งผลให้มีเด็ก
                                                                   ี
                     ถูกคุมขังเป็นจ านวนมากอย่างไม่เคยมีมาก่อน ท าให้ภายใต้การบังคับใช้กฎหมายฉบับนี้ มีเด็กถูกตัดสิน

                     คุมขังมากกว่าการคุมขังผู้ใหญ่ถึงสี่เท่า ส่งผลให้ประเทศแคนนาดามีจ านวนของเด็กถูกคุมขัง

                     (Incarceration rate) สูงที่สุดในโลก และที่ส าคัญสุดคือจ านวนถึงร้อยละ ๘๐ ถูกคุมขังจากการกระท า
                     ความผิดไม่รุนแรง  มีนักวิชาการหลายท่านออกมากล่าวว่า กระบวนการดังกล่าวก าลังสร้างเด็กที่มี

                                                       ึ้
                     โอกาสจะกระท าความผิดในอนาคตมากขนเนื่องจากเด็กเหล่านี้สามารถเรียนรู้ทัศนคติและเทคนิคต่าง ๆ
                     จากผู้กระท าความผิดร้ายแรง และยังท าให้ศาลเยาวชนต้องสูญเสียงบประมาณอย่างไม่มีประสิทธิภาพ

                     และกระบวนการที่ต้องน าตัวเด็กเข้ามาเกี่ยวข้องกับกระบวนการทางศาลอย่างเป็นทางการย่อมส่งผล

                     กระทบทางลบติดตามมา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างตราบาป รอยมลทินให้แก่เด็กและก่อให้เกิดอตรา
                                                                                                      ั
                     การกระท าควาผิดซ้ ามากยิ่งขึ้น ประเทศแคนนาดาจึงประกาศใช้กฎหมาย The Youth Criminal

                     Justice Act แทนกฎหมายฉบับเดิมเพื่อแกไขปัญญาข้างต้น  ดังนั้น เพอท าความเข้าใจถึงกระบวนการ
                                                        ้
                                                                      ๒๙
                                                                                ื่
                     และขั้นตอนในการด าเนินคดีกับเด็กและเยาวชนในประเทศแคนนาดาในปัจจุบัน ผู้เขียนขอน าแผนผัง
                                                                                         ิ
                     ของกระบวนการยุติธรรมตั้งแต่ต้นในชั้นเจ้าพนักงานต ารวจจนถึงขั้นตอนศาลมีค าพพากษามาแสดงดังนี้

















                            ๒๙  Kanika Samuels, Examining the Utility of Pre-Charge Youth Diversion Programs: A
                     Canadian Context, p 3
   262   263   264   265   266   267   268   269   270   271   272