Page 262 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 262
๒๔๙
ั
จากกระบวนการยุติธรรมตามแบบพิธีก่อนที่จะถูกฟ้องยงศาลตามขั้นตอนปกติโดยเลือกใช้มาตรการ
่
ื่
่
อนที่เหมาะสมมากวามาปฏิบัติต่อเด็กและเยาวชนแทน เช่น การวากล่าวตักเตือนจากเจ้าพนักงาน
๒๒
ั
ต ารวจ หรือการชะลอฟ้องของอยการ เป็นต้น”
(๒.) แนวคิดและเหตุผลในการปฏิบัติต่อผู้กระท าความผิดทั่วไปโดยไมต้องผ่าน
่
กระบวนการทางศาล(Nonjudicial Handing)
๒๓
ี
ิ
การยึดมั่นใน “กระบวนการยุติธรรมตามแบบพธี” โดยให้อานาจศาลแต่เพยงผู้เดียว
ั
เป็นผู้ก าหนดชะตาชีวิตของจ าเลย สุดท้ายแล้วอาจต้องลงเอยด้วยการลงโทษให้สาสมกบความผิด ซึ่งใน
ความเป็นจริงแล้วจะพบได้ว่า มีผู้กระท าความผิดหลายคนที่กระท าความผิดเล็กน้อยต้องมีตราบาป
ื่
ติดตัวด้วยค าพพากษาของศาล ดังนั้นการแก้ไขหรือเลือกใช้มาตรการอนที่เหมาะสมกว่าแทนการ
ิ
้
ด าเนินคดีอาญาจึงถูกน ามาใช้แทนมากขึ้น โดยมีแนวทางในการพจารณาดังนี้ ประการแรก การฟองคดี
ิ
จะเป็นผลดีแก่ตัวผู้กระท าผิดหรือ ประการที่สอง การฟองคดีจะเป็นผลดีแก่สังคมหรือไม่ จาก
้
ิ
ข้อพจารณาดังกล่าวก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางความคิดในการฟองคดีต่อศาลจนก่อให้เกิดแนว
้
ความผิดในการเบี่ยงเบนหรือผลักดันผู้กระท าความผิดออกจากกระบวนการทางศาล(Diversion from
Criminal Justice System) กล่าวคือ ประการแรก การปฏิบัติต่อผู้ละเมิดกฎเกณฑ์ของสังคม
บางประเภทอาจใช้มาตรการอนที่ไม่เป็นทางการโดยผ่านกระบวนการของสถาบันสังคม เช่น สถาบัน
ื่
ครอบครัว โรงเรียน ศาสนา ซึ่งมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของสมาชิกในชุมชน ประการที่สอง การปฏิบัติต่อ
ผู้ละเมิดกฎเกณฑ์ของสังคม โดยผ่านกระบวนการยุติธรรมย่อมก่อให้เกิดรอยมลทิน(Stigma) ยิ่งเข้าสู่
กระบวนการมากขั้นตอนเท่าไรย่อมต้องส่งผลกระบวนทางลบมากขึ้น และประการสุดท้าย หากมี
มาตรการเบี่ยงเบนหรือผลักดันผู้กระท าความผิดบางประเภทออกจากกระบวนการตามปกติมากขึ้นก็จะ
ื่
ท าให้มีการปฏิบัติต่อผู้กระท าผิดรายอนในกระบวนการได้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ดังนั้น เมื่อมี
มาตรการทางเลือกอนเพมเติมในการปฏิบัติต่อผู้กระท าความผิดย่อมต้องส่งผลดีกับทั้งผู้กระท าความผิด
ื่
ิ่
และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหลายประการ เช่น ผู้กระท าความผิดได้รับการแก้ไขฟนฟูและบ าบัด
ื้
ที่เหมาะสมและมีโอกาสกลับคืนสู่สังคม ช่วยลดปัญหานักโทษล้นคุก ช่วยลดงบประมาณค่าใช้จ่ายของรัฐ
และท าให้ผู้เสียหายมีโอกาสได้รับการเยียวยา
๒๒ อดิศร ตรีเนตร, “อ านาจผู้อ านวยการสถานพินิจในการท าความสั่งไม่ฟ้องคดีอาญาที่เด็กหรือเยาวชน
กระท าผิด,” (ปริญญานิติศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชานิติศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๓),
หน้า ๒๔
๒๓ เรื่องเดียวกัน, หน้า ๒๕-๒๘