Page 261 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 261

๒๔๘




                                                                                                  ่
                                  (๑.) ความหมายและขอบเขตของการปฏิบัติต่อเด็กและเยาวชนโดยไมต้องผ่าน
                     กระบวนการยุติธรรมทางศาล( Nonjudicial Handing)



                                ขั้นตอนการด าเนินคดีในระบบสากลทุกประเทศทั่วโลกจะมีกระบวนการเหมือนกัน
                     กล่าวคือ เริ่มต้นจากขั้นตอนการแจ้งความร้องทุกข์ต่อเจ้าหน้าที่ต ารวจ การจับกุม การสอบสวน การ

                                                              ิ
                                                      ิ
                     ฟ้องคดีต่อศาลและการด าเนินกระบวนพจารณาพพากษาคดีและการลงโทษส่งตัวเข้าเรือนจ าเพื่อลงโทษ
                                                                              ิ
                     ให้สาสมกับความผิด ซึ่งเรียกว่า “กระบวนการยุติธรรมตามแบบพธี” โดยมีหน่วยงานของรัฐตั้งแต่
                     ต ารวจ อยการ ศาลและสถานพนิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน เป็นผู้ท าหน้าที่ตามที่กฎหมายบัญญัติ
                                               ิ
                            ั
                     ไว้ แต่อย่างไรก็ตาม บางคดีเมื่อพเคราะห์ถึงสภาพของความผิด สภาพของผู้กระท าความผิดและ
                                                  ิ
                                       ื่
                     พฤติการณ์แวดล้อมอน กระบวนการที่เคร่งครัดดังกล่าวอาจไม่เหมาะสม เช่น เป็นความผิดเล็กน้อย

                     หรือผู้กระทาความผิดเป็นเด็กหรือเยาวชน ดังนั้นในปัจจุบันจึงเกดมีแนวความคดที่จะน ามาตรการอื่นมา
                                                                                      ิ
                                                                          ิ
                     ปฏิบัติต่อผู้กระท าความผิดแทนการด าเนินการตามขั้นตอนปกติดังกล่าว  โดยการผลักดันผู้กระท า
                                                                                  ๒๐
                     ความผิดออกจากกระบวนการยุติธรรม (Diversion) โดยสามารถแบ่งขั้นตอนการผลักดันได้ ๓ ระดับ
                     กล่าวคือ
                            ๒๑

                                ระดับที่ ๑ ผู้กระท าควาผิดยังไม่ได้ผ่านเข้ามายังขั้นตอนส่วนใดส่วนหนึ่งของกระบวบการยุติธรรม
                     และถูกผลักดันออกไป เช่น การก าหนดให้มีการจัดการกับพฤติกรรมฝ่าฝืนสังคมบางประเภท โดยฝ่าย

                     เอกชนแทนเจ้าหน้าที่ต ารวจ เช่น ศาลหมู่บ้าน หรือมาตรการทางสังคมสงเคราะห์โดยหน่วยงาน

                     ด้านสวัสดิการกับคนท าผิด เป็นต้น


                                ระดับที่ ๒ ผู้กระท าความผิดได้ผ่านขั้นตอนบางขั้นตอนของกระบวนการยุติธรรมเข้ามา
                     แล้วแต่ถูกผลักดันหรือเบี่ยงเบนออกไปจากมาตรการแบบดั้งเดิม และใช้วิธีการอื่นด าเนินการกับผู้กระท า

                                                                              ้
                     แทน เช่น การรอการลงโทษอาญาโดยระบบคุมประพฤติ การชะลอฟอง การควบคุมในวันหยุดหรือเป็น
                     ระยะๆ การท างานบริการสาธารณะแทนการจ าคุก


                                ระดับที่ ๓ การผลักดันผู้กระท าความผิดออกจากกระบวนการยุติธรรมภายหลังจาก
                                                       ิ
                     ผู้กระท าความผิดได้ถูกจองจ าในสถานพนิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนแล้ว แต่ท าให้การควบคุม
                     น้อยลงในรูปแบบ การพักการลงโทษ(Parole) การท างานสาธารณะ เป็นต้น


                                จากความหมายของการผลักดันผู้กระท าความผิดออกจากกระบวนการยุติธรรมข้างต้น

                     สามารถให้ความหมายของการปฏิบัติต่อเด็กและเยาวชนโดยไม่ต้องผ่านกระบวนการยุติธรรมทางศาลได้
                                             ิ
                     ว่า “เป็นกระบวนการหรือวธีการในการปฏิบัติต่อเด็กหรือเยาวชนเพื่อผลักดันเด็กและเยาวชนออก


                            ๒๐  ศิริศักดิ์ ติยะพรรณ, “มาตรการแทนการด าเนินคดีอาญา,” วารสารอัยการ ๑๔ (สิงหาคม ๒๕๓๔): ๖๗
                            ๒๑  นัทธี จิตสว่าง, หลักทัณฑวิทยา (กรุงเทพหานคร:๒๕๓๔), หน้า ๑๑๖-๑๔๓
   256   257   258   259   260   261   262   263   264   265   266