Page 259 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 259

๒๔๖




                                                      ั
                               ั
                     สอดคล้องกบอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กอนเป็นกฎหมายระหว่างประเทศและประเทศไทยได้เข้าเป็นภาคี
                     สมาชิกแล้ว พนธะหน้าที่ของประเทศสมาชิกจะต้องมีการอนุวัติกฎหมายภายในของตนให้มีความ
                                 ั
                     สอดคล้อง โดยอนุสัญญาดังกล่าวได้วางหลักประกันการด าเนินกระบวนยุติธรรมเกี่ยวกับเด็กว่า การ

                                                                                    ี
                     จับกุม กักขังหรือจ าคุกเด็กจะต้องใช้เป็นมาตราสุดท้ายเท่านั้นและให้มระยะเวลาที่สิ้นสุดอย่าง
                     เหมาะสม และเด็กจะต้องได้รับการปฏิบัติในลักษณะที่เป็นการส่งเสริมการกลับคืนสู่สังคมและส่งเสริม

                     ให้มีการตรากฎหมายก าหนดกระบวนพจารณาจัดตั้งหน่วยงานซึ่งใช้เฉพาะกับเด็กที่ถูกกล่าวหาและใน
                                                      ิ
                                                                                                        ๑๓
                     กรณีที่เหมาะสมให้ “ก าหนดมาตรการที่ใช้กับเด็กโดยไมต้องอาศัยกระบวนการทางตุลาการ”
                                                                       ่
                     ประกอบกับตามทฤษฎีอาชญาวิทยา ที่เรียกว่า ทฤษฎีตีตรา(Lebel Theory) ที่ได้รับการเชื่อถืออย่าง

                     แพร่หลาย เชื่อว่ากระบวนการยุติธรรมทางอาญาทุกขั้นตอนที่ด าเนินการอย่างเป็นทางการมากเกินไป
                     ถือว่าเป็นกระบวนการตราบาป(Lebel Process) ให้แก่ผู้กระท าผิดว่าเป็นอาชญากร และเป็นสาเหตุ

                     หนึ่งที่ผลักดันให้เด็กและเยาวชนเปลี่ยนจากพวกเบี่ยงเบนปฐมภูมิ(Primary Deviance) กลายเป็นพวก

                                                     ๑๔
                     เบี่ยงเบนถาวร(Secondary Deviance)  ส่งผลให้ยากต่อการแก้ไขปรับปรุงให้เป็นพลเมืองดีของสังคม
                                ดังนั้นกระบวนการยุติธรรมทางอาญาส าหรับเด็กและเยาวชนที่ดีและมีประสิทธิภาพ

                                                                                      ๑๕
                                                                                           ื่
                     จะต้องมีระบบการกลั่นกรองคดีที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพทุกขั้นตอน  เพอผลักดันเด็กและ
                     เยาวชนที่กระท าผิดออกจากกระบวนการยุติธรรมทางอาญาอย่างเป็นทางการให้รวดเร็วและน า
                                                                      ื่
                               ื่
                     มาตราการอนมาปฏิบัติต่อเด็กและเยาวชนให้เหมาะสมเพอประโยชน์สูงสุดของเด็กและเยาวชน(the
                     best interest of the children) โดยเฉพาะกระบวนการก่อนฟองคดีจะต้องมีประสิทธิภาพในการ
                                                                            ้
                                                                                                      ื่
                     กลั่นกรองคดี(Screening Process)   ในบทความฉบับนี้ผู้เขียนจะกล่าวถึงมาตรการทางเลือกอนใน
                                                   ๑๖
                     การปฏิบัติต่อเด็กและเยาวชนที่กระท าผิดโดยไม่ต้องกระบวนการทางศาล (Alternative Measure for
                     Juvenile Delinquency without Proceeding through the Formal Court) ซึ่งนานาอารยประเทศ

                     ทั่วโลกต่างมีมาตรการดังกล่าวมาปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยจะกล่าวให้เห็นถึงเหตุผล

                     แนวความคิด และสัมฤทธิ์ผลในทางปฏิบัติเพอน ามาวิเคราะห์เปรียบเทียบกับกฎหมายของประเทศไทย
                                                          ื่
                                ื่
                     ในปัจจุบันเพอหาแนวทางการน ามาปรับปรุงกระบวนการยุติธรรมส าหรับเด็กของไทยและให้เกิดผลการ
                     บังคับใช้ในทางปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ







                            ๑๓  อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก, ข้อ ๓๗,๔๐.

                            ๑๔  George B.Vold,Theoretical Criminology(New York ;Oxford University Press,1979), p.263,
                     pp258-266
                            ๑๕  ณรงค์ ใจหาญ ,หลักประกันสิทธของประชาชนในคดีอาญาใหม่: ปัจจุบันและทศวรรษหน้า) ๒๕๔๐-
                                                     ิ
                     ๒๕๕๐),บทบัญฑิตย์ เล่มที่ ๕๓ ตอน ๒(มิถุนายน ๒๕๔๐):๘๕.
                            ๑๖  กิตติพงษ์ กิตยารักษ, กระบวนการยุติธรรมบนเส้นทางของการเปลี่ยนแปลง, (กรุงเทพมหานคร:
                                             ์
                     ส านักพิมพ์วิญญูชนจ ากัด ,๒๕๔๑ , หน้า ๔๕
   254   255   256   257   258   259   260   261   262   263   264