Page 264 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 264
๒๕๑
รูปแบบของการเบี่ยงเบนหรือผลักดันผู้กระท าความผิดดังกล่าวอาจแบ่งออกไปเป็น
๒ ระดับ
ระดับแรกเรียกว่า การผลักดันหรือเบี่ยงเบนโดยสิ้นเชิง (Total Diversion) โดย
ั
ผู้ด าเนินการอาจเป็นเจ้าหน้าที่ต ารวจใช้วิธีการว่ากล่าวตักเตือน หรือพนักงานอยการที่จะยุติคดีโดย
ไม่ฟ้องคดีต่อศาล
ระดับที่สองเรียกว่า การผลักดันหรือเบี่ยงเบนบางส่วน (Partial Diversion) เป็น
ขั้นตอนที่เข้าสู่กระบวนการทางศาลแล้วแต่อาจถูกเบี่ยงเบนออกไปจากขั้นตอนปกติ โดยการก าหนดให้
เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงบางอย่างเพื่อยุติคดี
แนวความคิดดังกล่าวนี้เป็นการสะท้อนให้เห็นถึงการพัฒนาทางแนวความคิดจากจุดเริ่มต้น
ื่
ที่มีการต่อสู้เพอแยกกระบวนการของแยกออกจากผู้ใหญ่มาเป็นจนกลายมาเป็นการแยกเด็กออกจาก
ื่
กระบวนการยุติธรรมทางศาลอย่างเป็นทางการให้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้เพอหลีกเลี่ยงผลกระทบ
หลายประการดังกล่าวมาข้างต้น แต่อย่างไรก็ตามยังคงมีผู้ไม่เห็นด้วยกับแนวคิดดังกล่าว ด้วยเหตุผล
ิ
ิ่
หลายประการ เช่น ยังขาดพยานหลักฐานในการพสูจน์ว่ามีการเพมขึ้นของรอยมลทินหรือกระบวนการ
ิ่
ผลักดันจะช่วยก าจัดรอยมลทินออกไป การเพมขึ้นของดุลพนิจอาจหมายถึงการเพมขึ้นของการใช้
ิ่
ิ
่
ดุลพินิจไมสุจริต การเบี่ยงเบนหรือผลักดันนี้อาจเป็นการเพิ่มจ านวนของเด็กในการควบคุมของรัฐมากขึ้น
อีกทั้งอาจเป็นกระบวนการที่ไม่สอดคล้องกับหลักนิติธรรม (Due Process) และยังไม่มีหลักฐานที่ชัดเจน
ยืนยันว่าเป็นการลดการกระท าความผิดซ้ า จากเหตุผลข้อโต้แย้งดังกล่าว ผู้สนับสนุนแนวคิดนี้ก็ได้ให้
ความสนใจ โดยมีความพยายามให้ใช้มาตราการนี้ด้วยความเป็นธรรมโดยมีปัจจัยที่ต้องตระหนัก หลาย
ิ
ประการ เช่น ต้องมีการประเมนประสิทธิภาพและประสิทธิผล ต้องมีนโยบายที่ชัดเจนเป็นมาตรฐานและ
ตรวจสอบได้ ต้องมีการค านึงถึงสิทธิเด็กและกระบวการนิติธรรมด้วย ต้องหลีกเลี่ยงการสร้างเครือข่าย
ไม่ให้กว้างขวางมากเกินไปอนอาจท าให้มีเด็กอยู่ในความควบคุมของรัฐเกินจ าเป็นและต้องใส่ใจในการ
ั
พัฒนากระบวนการทั้งระบบให้มีประสิทธิภาพเท่าเทียมกัน
ในบทความนี้ ผู้เขียนจะกล่าวถึงการให้อานาจกับเจ้าพนักงานต ารวจในการใช้ดุลพนิจน า
ิ
ื่
มาตราการอนมาปฏิบัติต่อเด็กและเยาวชนผู้กระท าความอนเป็นทางเลือกอนที่มิใช่การจับกุมตัว
ั
ื่
ด าเนินคดีตามกฎหมายตามขั้นตอนปกติ
๓. มาตราการทางเลือกอื่นในการปฏิบัติต่อเด็กและเยาวชนโดยไม่ผ่านกระบวนการทาง
ศาลของประเทศแคนนาดาและประเทศไทย (Alternative measure for Juvenile
Delinquency without proceeding through the formal Court)