Page 266 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 266
๒๕๓
ี
กลับมาใชชีวิตในสังคมได้อกครั้ง รวมทั้งจะต้องให้ผู้กระท าความผิดแสดงความรับผิดชอบต่อผู้เสียหาย
ท าให้ผู้เสียหายได้รับการเยียวยาและยังให้โอกาสผู้เสียหายและชุมชนที่ได้รับผลกระทบจากความผิดที่
เกิดขึ้นเข้ามามีส่วนร่วมในการตัดสินใจถึงมาตรการที่จะน ามาปฏิบัติต่อผู้กระท าความผิด ในบทความนี้
ผู้เขียนจะกล่าวถึงหลักการและแนวคิดและมาตรการที่กฎหมาย The Youth Criminal Justice Act ให้
อ านาจเจ้าหน้าที่ต ารวจใช้ดุลพินิจน ามาปฏิบัติต่อเด็กและเยาวชนที่กระท าความผิด
ค าประกาศวัตถุประสงค์และหลักการส าคัญของกฎหมาย
The Youth Criminal Justice Act มีค าประกาศถึงวัตถุประสงค์และหลักการที่ส าคัญ
ื่
ส าหรับเด็ก โดยหลักการมุ่งเน้นก าหนดแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจนเพอช่วยเหลือผู้พพากษา นักฎหมาย
ิ
ต ารวจและหน่วยงานอื่น ๆ ในการตีความกฎหมายที่จะน ามาบังคับใช้กับเด็ก โดยมีการประกาศหลักการ
ส าคัญไว้ ๔ ประการ กล่าวคือ
ประการแรก กระบวนการยุติธรรมจะต้องมุ่งประสงค์ป้องกันอาชญากรรมโดยการมองไป
ู
ที่พนฐานเบื้องต้นของสาเหตุแห่งพฤติกรรม ให้การฟนฟแก้ไขให้สามารถกลับคืนสู่สังคมและให้ความ
ื้
ื้
มั่นใจได้ว่าเด็กที่กระท าผิดได้รับผลกระทบที่มีผลต่อชีวิตอันเนื่องมาจากการกระท าความผิด
ประการที่สอง กระบวนการยุติธรรมส าหรับเด็กจะต้องแยกออกจากกระบวนการยุติธรรม
ส าหรับผู้ใหญ่และต้องมุ่งเน้นไปที่การแก้ไขฟื้นฟูและให้โอกาสกลับคืนสู่สังคม
ประการที่สาม กระบวนการยุติธรรมจะต้องให้ความส าคัญกับคุณค่าของสังคม กระตุ้นให้
มีการชดใช้ค่าเสียหายให้แก่เหยื่ออาชญากรรมและสังคม ให้ความส าคัญต่อความต้องการและการ
พฒนาการของเด็ก โดยมีบิดามารดา สมาชิกในครอบครัวและองค์กรอนของชุมชนเข้ามาเกี่ยวข้องใน
ื่
ั
การแก้ไขฟื้นฟูและให้โอกาสในการกลับคืนสู่สังคม
ประการที่สี่ เหยื่ออาชญากรรมจะต้องได้รับการปฏิบัติอย่างเออเฟอ ความเมตตาและ
ื้
ื้
ความเคารพในศักดิ์ศรีและความเป็นส่วนตัวและจะต้องได้รับผลกระทบในความไม่สะดวกสบายน้อย
ที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ในการเข้ามาเกี่ยวข้องกับกระบวนการยุติธรรม และควรได้รับแจ้งเกี่ยวกับ
กระบวนการทั้งหมดและต้องได้รับโอกาสเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการด้วย บิดามารดาจะต้องได้รับ
แจ้งว่ามีกระบวนการใดเกิดขึ้นกับเด็กและต้องได้รับการกระตุ้นให้เข้ามาช่วยเหลือเด็กในการแก้ไข
พฤติกรรมของเด็กที่เป็นสาเหตุให้เด็กต้องเข้ามาเกี่ยวข้องกับกระบวนการยุติธรรม
วัตถุประสงค์และหลักการส าคัญหลายประการดังกล่าว ได้ถูกน าไปใช้ในกระบวนการ
่
ส าคัญหลายขั้นตอนของกฎหมายนี้ โดยเฉพาะ มาตรการพิเศษโดยไมผ่านกระบวนการทางศาล
(Extrajudicial measures) หรือที่เรียกว่า “EJM” การลงโทษ(Sentencing) การคุมขัง (Custody)
และการดูแลสอดส่อง(Supervision) การประกาศถึงวัตถุประสงค์และหลักการส าคัญของกฎหมายไว้
อย่างชัดเจนในบทบัญญัติของกฎหมายเป็นการสร้างความเชื่อมั่นว่ากฎหมายมีเจตนารมย์ที่ชัดเจน
๒๘
เกี่ยวกับวิธีการที่ดีที่สุดในการปฏิบัติต่อเด็กที่เข้าสู่ระบบของกระบวนการยุติธรรมส าหรับเด็ก
๒๘ Ibid, p 8