Page 269 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 269
๒๕๖
ในบทความนี้ ผู้เขียนจะกล่าวถึงเฉพาะกระบวนการส าคัญประการหนึ่งที่เป็นหลักการ
ิ
ื่
ส าคัญของกฎหมายที่บัญญัติขึ้นมาเพอใช้แก้ไขปัญหาที่ประเทศแคนนาดาดังกล่าว คือ มาตรการพเศษ
โดยไม่ผ่านกระบวนการทางศาล (Extrajudicial Measures) ตามกฎหมายฉบับเดิมจะเรียกมาตรานี้มา
ื่
๓๑
มาตรการทางเลือกอนโดยไม่ผ่านกระบวนการทางศาล (Alternative Measures) กฎหมายฉบับเดิม
ให้ค านิยามของมาตรการดังกล่าวว่า เป็นกระบวนการผลักดันเด็กและเยาวชนออกจากกระบวนการ
อย่างเป็นทางการของศาล (Formal Court Proceeding) ในขั้นตอนก่อนการแจ้งข้อกล่าวหา(the pre-
Charge stage of proceeding ) แต่มาตรการดังกล่าวมีข้อบกพร่องหลายประการส่งผลเจ้าหน้าที่
ผู้เกี่ยวข้องไม่สามารถน ามาตรการนี้มาบังคับใช้ได้ในทางปฏิบัติ ดังนั้น ในการประกาศใช้กฎหมายฉบับ
ิ
ใหม่นี้ จึงมีการแก้ไขปรับปรุงมาตรการดังกล่าวและเรียกชื่อใหม่ว่า มาตรการพเศษโดยไม่ผ่าน
กระบวนการทางศาล (Extrajudicial Measures) ก่อนที่ผู้เขียนจะอธิบายถึงหลักการและขั้นตอนในการ
ื่
น ามาตรการดังกล่าวมาบังคับใช้ เพอท าความเข้าใจถึงกระบวนการและขั้นตอนในการด าเนินคดีกับเด็ก
และเยาวชนในประเทศแคนนาดา ผู้เขียนขอน าเสนอแผนผังของมาตรการพิเศษโดยไม่ผ่านกระบวนการ
ทางศาล (Extrajudicial Measures) ดังนี้
แผนผังที่ ๒ มาตรการพิเศษโดยไม่ผ่านกระบวนการทางศาล (Extrajudicial Measures)
เจ้ำหน้ำทต ำรวจเชอและมีเหตุพลเพยงพอว่ำเด็กกระท ำผิดกฎหมำย
่
ื
ี
ี
่
ไม่ดาเนินการใด(TAKING NO ต ำรวจถูกร้องขอให้พิจำรณำใช้มำตรกำรพิเศษโดยไม่ผ่านกระบวนการทางศาล
FERTHER ACTION)
มำตรกำรพิเศษโดยไม่ผ่านกระบวนการทางศาลไม่เหมำะสม
ี
มำตรกำรพิเศษโดยไม่ผ่านกระบวนการทางศาลมควำมเหมำะสม
ว่ำกล่ำวตักเตือน ส่งเข้ำโครงกำรต่ำง ๆ ถูกแจ้งข้อหำและปล่อยตัว ถูกแจ้งข้อหำและควบคุม
ตัว
่
เด็กยินยอมเข้ำสูโครงกำรต่ำง ๆ เช่น โครงกำรให้ ขั้นตอนกำรขอประกันตัว
ค ำปรึกษำ
๓๑ The Young Offences Act, sec 4