Page 263 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 263
๒๕๐
่
(๓.) แนวความคิดและเหตุผลในการปฏิบัติต่อเด็กและเยาวชนโดยไมผ่านกระบวนการ
๒๔
ทางศาล
ั
ี
หลัก “parens patriae” มาจากภาษาลาติน มความหมายตามตัวอกษาวา “รัฐเป็น
่
บิดาของเด็ก” (the state is the father) เป็นแนวความคิดของกระบวนการยุติธรรมส าหรับเด็กและ
เยาวชน โดยรัฐต้องแสดงบทบาทเสมือนบิดามาดาของเด็กในการให้การปกป้องคุ้มครองเด็กและแก้ไข
ฟื้นฟูให้เด็กเป็นพลเมืองดีของสังคม โดยรัฐมีอานาจเข้าแทรกแซงอ านาจปกครองของบิดามารดาเด็กโดย
ค านึงถึงผลประโยชน์สูงสุดของเด็ก นอกจากนี้ยังมีความเชื่อทางวัฒนธรรมของสังคมว่า เด็กมีความไร้
เดียงสาและจิตใจออนไหวมากกว่าผู้ใหญ่ จึงมีข้อสันนิษฐานว่า เด็กควรรับผิดชอบในการกระท าผิดของ
่
ต้นน้อยกว่าผู้ใหญ่จนกลายเป็นหลักพนฐานส าคัญในความรับผิดของเด็กตามกฎหมายอาญาว่า “เด็กที่มี
ื้
อายุต่ ากว่า ๗ ปีไม่สามารถถูกพจารณาว่ามีเจตนากระท าผิด(incapable of forming the intent to
ิ
commit) เนื่องจากเป็นผู้ที่ยังไม่เจตนาร้าย ( mens rea) ต่อมามีการเรียกร้องให้มีการแยกการ
พจารณาเด็กและเยาวชนออกจากผู้ใหญ่ จนกระทั่งปี ค.ศ. ๑๘๙๙ มีการจัดตั้งศาลเด็กแยกมาจากศาล
ิ
ิ
ผู้ใหญ่เป็นครั้งแรกที่ Cook County มลรัฐอลินอยส์ และต่อมาปี ค.ศ. ๑๙๒๐ แต่ละมลรัฐของ
สหรัฐอเมริกา มีการแยกศาลเด็กออกจากผู้ใหญ่ทุกมลรัฐแต่ยังเป็นระบบที่มีความแตกต่างกันเนื่องจาก
แต่ละมลรัฐมีอานาจออกกฎหมายบังคับใช้เองตราบเท่าที่ไม่ขัดต่อรัฐธรรมนูญของสหรัฐอเมริกา
แต่มีกระบวนการหนึ่งที่คล้ายคลึงกัน คือ กระบวนการกลั่นกรองคดี(Intake Process) ที่มีจุดมุ่งหมาย
แรกคือการกลั่นรองคดีว่าสมควรเช้าสู่กระบวนการของศาลหรือควรใช้มาตรการอื่นโดยไม่ต้องต้องคดีต่อ
ิ
ศาล การใช้อานาจกลั่นกรองนี้มีเบื้องหลังมาจากการเพมอานาจของเจ้าหน้าที่ต ารวจให้ใช้ดุลพนิจว่า
ิ่
สมควรสั่งต่อเด็กเข้าสู่กระบวนการทางศาลหรือไม่ ซึ่งบางครั้งการที่เจ้าหน้าที่ต ารวจใช้ดุลพนิจเบี่ยงเบน
ิ
หรือผลักดันเด็กออกจากกระบวนการยุติธรรมโดยไม่จับกุมตัวด าเนินคดีอาจส่งผลเสียหายต่อเด็ก
เนื่องจากบางคนที่ไม่ถูกจับกุมอาจอยู่ในภาระจ าเป็นต้องได้รับการช่วยเหลือ เช่น การบ าบัดผู้ติด
ยาเสพติดอนเป็นการสะท้อนให้เห็นถึงแนวความคิดที่เชื่อว่า “การกระท าใดๆ ของเด็กไม่มความส าคัญ
ี
ั
เท่ากับการที่จะกระทาสิ่งใด ๆ ให้กับเด็ก” (what the child had done was not as important
as what was to be done for the child) กระบวนการกลั่นกรองคดีที่ส าคัญสุดคือกระบวนการ
ที่เรียกว่า “Diversion” โดย H. Ted Rubin ให้ความหมายไว้ว่า “เป็นกระบวนการในการด าเนินการ
กับเด็กและเยาวชนที่กระท าความผิดโดยไม่ต้องผ่านสถาบันทางศาล ซึ่งโดยปกติแล้วคดีนั้นจะต้องผ่าน
กระบวนการในการค้นหาความจริงโดยศาล” โดยมีปัจจัยที่ต้องพิจารณาประการแรกว่า เป็นการกระท า
ื่
เพอประโยชน์สูงสุดของเด็กหรือไม่ ประการที่สอง การตระหนังถึงความเสียหาย กล่าวคือ “เด็กยิ่งเข้าสู่
่
กระบวนการยุติธรรมมากเทาไรและบ่อยครั้งมากเท่าไร มีความเป็นไปได้ที่เด็กจะคงความประพฤติที่เป็น
อาชญากรอยู่อย่างต่อเนื่องต่อไปเท่านั้น” ประการสุดท้าย เป็นการช่วยเหลือที่ไม่สร้างตราบาปเหมือน
ั้
กระบวนการตามขนตอนปกติ
๒๔ เรื่องเดียวกัน, หน้า ๒๘-๖๐