Page 258 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 258
๒๔๕
ความผิดแตกต่างจากการปฏิบัติต่อผู้ใหญ่ที่กระท าความผิดที่ส าคัญหลายประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
มาตราการในการผลักดันเด็กและเยาวชนที่กระท าความผิดออกจากกระบวนการยุติธรรมตามขั้นตอน
ปกติ (Diversion from Criminal Justice System) มาตรา ๖๓ ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลเยาวชน
ิ
และครอบครัวและวิธีพจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งให้อานาจผู้อานวยการสถาน
ิ
้
ิ
ิ
้
ั
พนิจและคุ้มครองเด็ก ใช้ดุลพนิจท าความเห็นสั่งไม่ฟองส่งไปให้อยการพจารณาสั่งไม่ฟองเด็กหรือ
เยาวชนที่กระท าความผิด บทบัญญัติดังกล่าวเป็นกระบวนการกลั่นกรองคดี (Screening Process)
ิ
ิ
ไม่ให้คดีบางประเภทเข้าสู่กระบวนการพจารณาพพากษาคดีของศาล แต่อย่างไรก็ตามนับตั้งแต่จัดตั้ง
ศาลเยาวชนและครอบครัว ครั้งแรกตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๙๔ ยังไม่เคยมีการน ามาตรการดังกล่าวมาปฏิบัติ
เลย ทั้งนี้เนื่องจากความไม่ชัดเจนของบทบัญญัติของกฎหมาย ท าให้เกิดปัญหาหลายประการ เช่น
๘
ิ
เรื่องการตีความบทบัญญัติที่ว่า “เด็กหรือเยาวชนยินยอมอยู่ในความควบคุมของสถานพนิจ” ซึ่งจะต้อง
ตีความหมายว่าเด็กหรือเยาวชนจะต้องเข้าไปอยู่ในสถานพนิจหรือไม่ ถ้าหากตีความว่าจะต้องเข้าไปอยู่
ิ
ิ
ในสถานพนิจเลยเหมือนกับเด็กหรือเยาวชนที่ถูกควบคุมตัวไว้ระหว่างการพจารณาโดยไม่ได้รับการ
ิ
ประกันตัว มาตรานี้คงไม่อาจน ามาใช้ได้เนื่องจากจะไม่มีเด็กหรือเยาวชนผู้ใดยินยอม และในการ
๙
ิ
พจารณาว่าเด็กหรือเยาวชนผู้ใดมีความเหมาะสมที่จะใช้มาตรการนี้ก็เป็นไปได้ยากในทางปฏิบัติและท า
ให้ประชาชนทั่วไปมีความรู้สึกว่าไม่มีความยุติธรรม ต่อมาปี พ.ศ. ๒๕๕๓ มีการประกาศใช้
๑๐
พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ และมี
ิ
บทบัญญัติเกี่ยวกับมาตราการดังกล่าวในหมวด ๗ มาตรการพเศษแทนการด าเนินคดีอาญา(Special
Measure In Lieu of Criminal Prosecution) มาตรา ๘๖ ชั้นก่อนฟ้องและมาตรา ๙๐ ในชั้นพิจารณา
พพากษาของศาล ซึ่งเป็นหลักการเดียวกับบทบัญญัติดังกล่าวแต่มีการแก้ไขปรับปรุงบทบัญญัติให้มี
ิ
ความชัดเจนมากยิ่งขึ้นจนสามารถน ามาใช้ได้ในทางปฏิบัติ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ มีการน ามาตรการดังกล่าว
๑๑
ในมาตรา ๙๐ มาใช้ทั้งหมด รวม ๕๙๔ คดี แต่เมื่อเปรียบเทียบกับปริมาณคดีที่เข้าสู่กระบวนพิจารณา
ิ
พพากษาของศาลแล้วถือว่ามีการน ามาตรการนี้มาใช้น้อยมาก จึงส่งผลให้ศาลเยาวชนและครอบครัว
ยังคงสิ้นเปลืองบุคคลากรและเวลาในการพิจารณาพพากษาคดีและย่อมต้องส่งผลให้เด็กและเยาวชนเสีย
ิ
๑๒
ี
ั
ประวัติ อนเป็นการไม่สอดคล้องกับเจตนารมย์ในการจัดตั้งศาลเยาวชนและครอบครัว อกทั้งยังไม่
๘ อดิศร ตรีเนตร, “อ านาจผู้อ านวยการสถานพินิจในการท าความสั่งไม่ฟ้องคดีอาญาที่เด็กหรือเยาวชน
กระท าผิด,” (ปริญญานิติศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชานิติศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,๒๕๔๓),
หน้า ๔
๙ นิพนธ์ ใจส าราญ,ส านักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา: รวมค าบรรยายภาคสอง สมัยที่ ๕๑ ปี
ั
การศึกษา ๒๕๔๑ (กรุงเทพมหานคร :ห้างหุ้นส่วนจ ากด จิรรัชการพิมพ์,๒๕๔๒), หน้า ๒๖๒
๑๐ บุญเพราะ แสงเทียน,ค าบรรยายกฎหมายเกี่ยวกับการกระท าผิดของเด็กและเยาวชน(ม.ป.ท. :๒๕๔๐), หน้า ๑๖๓
๑๑ รายงานสถิติคดีศาลยุติธรรมทั่วราชอาญาจักร ประจ าปี พ.ศ.๒๕๖๒, หน้า ๒๐๓
๑๒ นิพนธ์ ใจส าราญ,ส านักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา: รวมค าบรรยายภาคสอง สมัยที่ ๕๑ ปี
การศึกษา ๒๕๔๑ (กรุงเทพมหานคร :ห้างหุ้นส่วนจ ากด จิรรัชการพิมพ์,๒๕๔๒), หน้า ๒๖๒
ั