Page 257 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 257
๒๔๔
ิ
ิ
(Formal Court) ย่อมส่งผลให้ในแต่ละปีศาลเยาวชนและครอบครัวต้องพจารณาพพากษาคดีเด็กและ
เยาวชนที่กระท าความผิดเป็นจ านวนมากตามสถิติดังกล่าวมาข้างต้น อนอาจส่งผลให้ศาลเยาวชนและ
ั
ิ
ี
ครอบครัวไม่มีเวลาเพยงพอในการพนิจพจารณาหามาตราการในการแก้ไขปรับปรุงเด็กและเยาวชนให้
ิ
สามารถกลับตัวเป็นพลเมืองดีของสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพ อนเป็นการขัดแย้งกับปรัชชาในการ
ั
ื้
ู
แก้ไขฟนฟเด็กและเยาวชนที่จะต้องใช้มาตราการทีมีประสิทธิภาพและต้องกระท าในช่วงเวลาที่ถูกต้อง
เหมาะสมอย่างรวดเร็ว (Effective and timely responses)
จากสภาพปัญหาดังกล่าว ประเทศไทยให้ความส าคัญในการแก้ไขปัญหามาโดยตลอด โดย
มีศาลเยาวชนและครอบครัวและกรมประชาสงเคราะห์ กระทรวงมหาดไทย เป็นสองหน่วยงานหลักที่
ปฏิบัติหน้าที่คู่ขนานและสอดรับกันในการท าหน้าที่หรือที่เรียกว่า “ระบบคู่ขนาน Pararell System”
๔
ื่
ทั้งสองระบบจะด าเนินการเกี่ยวข้องกับเด็กและเยาวที่กระท าผิด เด็กที่ถูกทอดทิ้ง พงพาผู้อนและถูก
ึ่
ทารุณกรรมต่าง ๆ ปัจจุบันระบบในการให้การสงเคราะห์เด็กและเยาวชน อยู่ภายใต้การบังคับใช้
กฎหมายฉบับหลัก คือ พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ ที่ออกมายกเลิกประกาศคณะปฏิบัติ
ฉบับที่ ๑๓๒ ลงวันที่ ๒๒ เมษายน ๒๕๑๕ และประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๙๔ ลงวันที่ ๒๗
พฤศจิกายน ๒๕๑๕ โดยกฎหมายดังกล่าวก าหนดให้หน่วยงานหลายหน่วยมีหน้าที่ก ากับ ดูแล ให้การ
๕
สงเคราะห์เด็กและเยาวชนทั้งที่อยู่ในระบบสถานศึกษาและเด็กนอกระบบสถานศึกษา ในส่วนของ
ระบบของศาลเยาวชนและครอบครัว นั้น ประเทศไทยได้มีการแก้ไขปรับปรุงมาโดยตลอด จนปัจจุบัน
กฎหมายที่บังคับใช้คือ พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพจารณาคดีเยาวชนและ
ิ
ครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ ซึ่งเป็นพระราชบัญญัติที่แก้ไขปรับปรุง พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลเยาวชนและ
ิ
ครอบครัวและวิธีพจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๓๔ แต่ยังคงมีปรัชญามุ่งเน้นในการ
ด าเนินคดีเพอปรับปรุงแก้ไขและฟนฟเด็กและเยาวชนที่กระท าผิดให้กลับตัวเป็นพลเมืองดียิ่งกว่าการ
ื่
ื้
ู
๖
ลงโทษให้สาสมกับความผิด โดยรัฐมีอ านาจเข้าแทรกแซงอ านาจของบิดามารดาในการแสดงบทบาทท า
หน้าที่แทนบิดามารดาหรือผู้ปกครองของเด็กและเยาวชนที่กระท าความผิดตามหลัก Parents Patriae
ที่ถือว่ารัฐเสมือนผู้ปกครองทดแทน(Surrogate Parent) เพอประโยชน์สูงสุดส าหรับเด็กและเยาวชน
๗
ื่
(the best interest of the children)
จากแนวความคิดดังกล่าว พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลเยาวชนและครอบครัวฯ มีบทบัญญัติ
ก าหนดวิธีการพเศษ ให้อานาจเจ้าพนักงานในกระบวนการยุติธรรมปฏิบัติต่อเด็กและเยาวชนที่กระท า
ิ
๔ ประธาน วัฒนวาณิชย์, “การปฏิบัติต่อเด็กและเยาวผู้กระท าผิดในประเทศไทย: แนวทางกฎหมายและ
ี่
สังคม,” รัฐสภาสาร ฉบับที่ ๙ ปีท ๓๘ (กันยายน ๒๕๓๓): ๑๒.
๕ พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖, มาตรา ๔
๖ พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๑๙
ี
๗ วิชา มหาคุณ,ข้อขัดแย้งในการจัดโครงสร้างกระทรวงยุติธรรม ศึกษาเฉพาะกรณีสถานพินิจและคุ้มครอง
เด็กและ เยาวชน, “บทบัณฑิตย์ เล่มที่ ๕๔ ตอน ๒ (มิถุนายน ๒๕๔๑):, ๑๒๖