Page 260 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 260

๒๔๗




                     ๒. แนวคิด ทฤษฎีและหลักกฎหมายที่เกี่ยวกับการปฏิบัติติต่อเด็กและเยาวชนโดยไม่ผ่าน

                     กระบวนการทางศาล


                                ๑. สิทธิเด็กและเยาวชนกับอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก(Convention on the Right of

                     the Child)


                                                                                              ั
                                ประเทศไทยเข้าเป็นภาคีสมาชิกของอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ดังนั้นจึงมีพนธกรณีที่ต้อง
                     อนุวัติกฎหมายภายในประเทศที่เกี่ยวกับการปฏิบัติต่อเด็กและเยาวชนที่กระท าผิดกฎหมายที่มีโทษทาง
                     อาญาทั้งระบบ โดยเฉพาะกระบวนการที่ส่งเสริมให้เจ้าหน้าที่ของรัฐปฏิบัติต่อเด็กและเยาวชนโดยไม่ต้อง

                                                            ึ
                     ผ่านกระบวนการยุติธรรมทางศาล โดยรัฐภาคีพงให้หลักประกันว่าเด็กจะไม่ถูกทรมานหรือถูกปฏิบัติหรือ
                                                                                 ิ
                     ถูกลงโทษที่มีลักษณะโหดร้ายทารุณ ไร้มนุษยธรรม หรือถูกลิดรอนอสระเสรีภาพโดยไม่ชอบด้วย
                     กฎหมายหรือโดยพลการ การจับกุม กักขังหรือจ าคุกจะต้องเป็นไปตามบทกฎหมายและใช้เป็น

                     “มาตรการสุดท้าย” เท่าที่จ าเป็นและระยะเวลาควบคุมกักขังหรือจ าคุกจะต้องให้มีความเหมาะสมกับ
                                                                          ื้
                                                                             ู
                                                 ๑๗
                     สภาพความผิดและอายุของเด็ก  รัฐภาคีพงส่งเสริมแก้ไขฟนฟเด็กและเลือกใช้มาตราการอนที่
                                                                                                       ื่
                                                            ึ
                     เหมาะสมในการปฏิบัติต่อเด็กโดยไม่ต้องผ่านกระบวนการยุติธรรมทางศาล มีการส่งเสริมการใช้
                     มาตรการที่เหมาะสมทั้งปวงที่จะส่งเสริมการฟนฟูทั้งร่างกายและจิตใจและการกลับคืนสู่สังคมของเด็กที่
                                                           ื้
                                                                                         ั
                     ได้รับเคราะห์จากการละเลยในรูปแบบใด ๆ การแสวงหาประโยชน์ การกระท าอนมิชอบ การทรมาน
                                                      ู
                                                   ื้
                     หรือการลงโทษ เป็นต้น การแก้ไขฟนฟหรือการกลับคืนสู่สังคมจะเกิดขึ้นในสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริม
                     สุขภาพ การเคารพตนเองและศักดิ์ศรีของเด็ก  และนอกจากนี้รัฐภาคีจะหาทางส่งเสริมให้มี
                                                               ๑๘
                     การตรากฎหมาย ก าหนดกระบวนวิธีพจารณา จัดตั้งหน่วยงานและสถาบันซึ่งจะใช้เป็นการเฉพาะเด็กที่
                                                     ิ
                     ถูกกล่าวหา ตั้งข้อหา หรือถูกถือว่าได้ฝ่าฝืนกฎหมายอาญา โดยเฉพาะอย่างยิ่งและเมื่อเห็นว่าเหมาะสม
                     และเป็นที่พงปรารถนาให้ก าหนดมาตรการที่จะใช้กับเด็กเหล่านั้น “โดยไม่ต้องผ่านกระบวนการ
                               ึ
                     ทางตุลาการ” ทั้งนี้โดยมีเงื่อนไขว่าสิทธิมนุษยชนและการคุ้มครองตามกฎหมายจะได้รับการเคารพอย่าง
                     เต็มที่อยู่ การด าเนินการต่าง ๆ เช่น ค าสั่งให้มีการดูแล แนะแนวและควบคุม การให้ค าปรึกษา การ

                     ภาคทัณฑ์ การอปการะดูแล แผนงานการศึกษาและฝึกอบรมวิชาชีพและทางอนอกเหนือจากการให้
                                                                                        ื่
                                   ุ
                                                ื่
                     สถาบันเป็นผู้ดูแลจะต้องมีไว้เพอประกันว่า เด็กจะได้รับการปฏิบัติในลักษณะที่เหมาะสมแก่ความ
                                                                               ๑๙
                     เป็นอยู่ที่ดีของเด็กและได้สัดส่วนกับทั้งสภาพการณ์และความรับผิดชอบ

                                ๒. ความหมาย ขอบเขตและเหตุผลของการปฏิบัติต่อเด็กและเยาวชนโดยไมต้องผ่าน
                                                                                                  ่
                     กระบวนการยุติธรรมทางศาล (Nonjudicial Handing)



                            ๑๗  อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก, มาตรา ๓๗
                            ๑๘  เรื่องเดียวกัน, มาตรา ๓๙.
                            ๑๙  เรื่องเดียวกัน, มาตรา ๔๐(๓)(ข).
   255   256   257   258   259   260   261   262   263   264   265