Page 252 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 252
๒๓๙
ิ
ฝ่ายนั้นชนะคดีทันที ทุกอย่างควรรอไว้สรุปในค าพพากษา ไม่สั่งให้เป็นผลดีหรือผลร้ายแก่ฝ่ายใด
ก่อนมีค าพพากษา แนวคิดที่สองคือ ค่อนข้างยืดหยุ่น สิ่งใดพอคุ้มครองให้ได้ ก็ให้ไป มองว่าเป็นขั้นตอนๆ
ิ
ี
ิ
หนึ่ง ก่อนมีค าพพากษาเท่านั้น หากค าสั่งมีผลกระทบต่อคู่ความอกฝ่ายอย่างไร ก็ให้มีการวางเงินประกัน
ิ
ความเสียหายไว้ตามพฤติการณ ด้วยความเคารพส่วนตัวผู้เขียนเห็นด้วยกับแนวคิดที่สอง ทั้งนี้ เมื่อพจารณา
์
ตัวบทกฎหมายอย่างแท้จริงแล้ว การสั่งค าร้องขอคุ้มครองชั่วคราวก่อนมีค าพพากษานั้นหลักการส าคัญคือ
ิ
เงื่อนไข วิธีการคุ้มครอง และกรอบการให้ความคุ้มครองจะอยู่ในประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความแพง
ิ
่
ั
มาตรา ๒๕๔ (๑)-(๔) โดยมีเกณฑ์การฟงข้อเท็จจริงให้ได้ความตามมาตรา ๒๕๕ (๑)-(๔) กรณีอนุญาตศาล
จะออกค าสั่งแจ้งผู้เกี่ยวข้องทราบหรือมีเงื่อนไขใดๆ ก็ได้ตามมาตรา ๒๕๗ ผู้เขียนเห็นว่ามาตรา ๒๕๕
ผู้พพากษาส่วนใหญ่เข้าใจว่าต้องเป็นที่พอใจว่าจ าเลยจะยักย้ายทรัพย์ให้พนไปจากอานาจศาล หรือ ตั้งใจ
ิ
้
ั
กระท าซ้ าซึ่งการละเมิดเป็นหลัก จึงจะสั่งคุ้มครองชั่วคราวให้ ทั้งนี้เกณฑ์การฟงข้อเท็จจริงว่าจ าเลยตั้งใจ
จะยักย้ายทรัพย์นั้น ส่วนใหญ่ก็ค่อนข้างเคร่งครัดถึงขนาดว่าต้องมีหลักฐานสัญญาจะซื้อจะขายระหว่าง
จ าเลยกับบุคคลภายนอก ซึ่งสภาพความเป็นจริงโจทก์คงไม่มีทางหามาเป็นพยานหลักฐานได้ ทั้งนี้หาก
ื่
ิ
ิ
พจารณาในมาตรา๒๕๕ (๑) (ข) ยังบัญญัติว่า “เมื่อมีเหตุจ าเป็นอนใดตามที่ศาลจะพเคราะห์เห็นเป็นการ
ยุติธรรมและสมควร” และให้ใช้กับกรณีมาตรา ๒๕๕ (๒) (๓) ด้วย เท่ากับว่ากฎหมายให้อานาจศาลอย่าง
กว้างขวางในการที่จะออกค าสั่งคุ้มครองชั่วคราวได้บนพนฐานของความจ าเป็น ความยุติธรรมสมควร
ื้
โดยให้ศาลเป็นผู้พเคราะห์ ซึ่งก็มีค าพากษาฎีกาปรับหลักตามมาตรานี้แล้วให้ความคุ้มครองคู่ความไปดัง
ิ
ิ
ตัวอย่างในบทที่ ๒ (ค าพพากษาศาลฎีกาที่ ๑๗๘/๒๕๕๑) แต่โดยสภาพความเป็นจริงค าร้องขอคุ้มครอง
ชั่วคราวนั้น หากศาลชั้นต้นมีค าสั่งยกค าร้องแล้ว คดีมักจะไม่ค่อยขึ้นมาถึงศาลอทธรณ์หรือศาลฎีกาเพราะ
ุ
ความต้องการแท้จริงของคู่ความคือ ต้องการความคมครองในขณะนั้นให้ทันท่วงที ไม่ใช่ต้องรอเวลาจนกว่า
ุ้
ิ
ศาลสูงจะมีค าสั่ง ย่อมไม่ทันการ ท้ายสุดนี้ ผู้เขียนจึงขอเสนอแนะให้ผู้พพากษาและผู้บริหารศาลซึ่งมีหน้าที่
ให้ค าปรึกษาแก่เจ้าของส านวนในการท าค าสั่งเกี่ยวกับค าร้องขอคุ้มครองชั่วคราวก่อนพพากษาได้ศึกษา
ิ
ให้เข้าใจถึงแก่นแท้ความเดือดร้อนของคู่ความ ยิ่งกว่านั้นตัวบทกฎหมายมาตรา ๒๕๕ (๑)(ข) ยังบัญญัติ
อย่างเปิดกว้างให้ศาลมีค าสั่งคุ้มครองชั่วคราวได้เพอความเป็นธรรม หากศาลน าบทกฎหมายที่มีอยู่ดังกล่าว
ื่
มาปรับใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ย่อมก่อให้เกิดประโยชน์แก่คู่ความที่มาศาลอย่างสุจริตและเป็นการ
อ านวยความยุติธรรมให้แก่ประชาชนได้อย่างแท้จริง