Page 249 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 249

๒๓๖



                                        ไม่ว่ากรณีใดๆ ก่อนที่ศาลจะออกหมายยึด หมายอายัด หมายห้ามชั่วคราว หมายจับ

                                                                                              ื่
                 หรือค าสั่งใดๆ ศาลจะสั่งให้ผู้ขอน าเงินหรือหาประกันตามจ านวนที่เห็นสมควรมาวางศาลเพอการช าระ
                 ค่าสินไหมทดแทนซึ่งจ าเลยอาจได้รับตามมาตรา ๒๖๓ ก็ได้


                                                                    ่
                                        ตามประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความแพง มาตรา ๒๕๗ จะเห็นได้ว่าเมื่อศาลมีค าสั่ง
                                                       ิ
                 อนุญาตให้คุ้มครองชั่วคราวแล้ว กฎหมายก าหนดให้ศาลมีค าสั่งแจ้งให้จ าเลย หรือนายทะเบียนพนักงาน
                 เจ้าหน้าที่ทราบ นอกจากนี้ในเรื่องห้ามจ าเลยจ าหน่าย จ่าย โอนทรัพย์สิน ศาลจะก าหนดวิธีการโฆษณาเพอ
                                                                                                       ื่
                 ป้องกันการฉ้อฉลด้วยก็ได้ วัตถุประสงค์ก็เพอให้ค าสั่งคุ้มครองชั่วคราวเกิดผล  มีประสิทธิภาพและใช้บังคับ
                                                     ื่
                 ได้จริงในทางปฏิบัติ ตามประสบการณ์ผู้เขียน ส่วนใหญ่โจทก์จะขอคุ้มครองชั่วคราวให้อายัดที่ดินของ

                 จ าเลยตามาตรา ๒๕๔ (๑) หรือ ขอห้ามจ าเลยจ าหน่าย จ่าย โอนที่ดินตามมาตรา ๒๕๔ (๒) เมื่อศาล
                 อนุญาตเช่นนี้ ศาลจะมีค าสั่งหรือหมายไปถึงทั้งจ าเลยและเจ้าพนักงานที่ดินด้วย ซึ่งบางครั้งหาก

                    ิ
                                              ิ
                 ผู้พพากษาไม่รอบคอบหรือกรณีผู้พพากษาใหม่ อาจส่งหมายหรือค าสั่งไปให้จ าเลยเท่านั้น ไม่ได้แจ้งไปยัง
                 เจ้าพนักงานที่ดิน ส านักงานที่ดินจึงไม่ทราบค าสั่งศาล จ าเลยก็อาจท าการจ าหน่าย จ่าย โอนที่ดินไปได้
                 ปัญหานี้ควรก าชับเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องว่าหมาย ค าสั่ง หรือหนังสืออายัดที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์นั้น

                 ต้องส่งไปที่ส านักงานที่ดินด้วยเสมอ

                                      ในส่วนมาตรา ๒๕๗ วรรคท้าย ก าหนดให้ศาลอาจใช้ดุลยพนิจให้ผู้ขอวางเงินหรือ
                                                                                    ิ
                 หลักประกันเพื่อการช าระค่าสินไหมทดแทนได้ ในทางปฏิบัติศาลจะพิจารณาจากพฤติการณทั้งหมดในขณะ
                                                                                            ์
                 สั่งค าร้อง ส่วนมากจะให้วางเงินประกันตามพฤติการณ์ตามสัดส่วนที่พอเหมาะสมกับการที่ต้องกระทบสิทธิ
                 ของอีกฝ่ายหนึ่ง ตามประสบการณ์ของผู้เขียน ทางฝ่ายผู้ขอก็จะยินดีวางเงินประกันตามค าสั่งศาลเสมอ


                 บทสรุปและข้อเสนอแนะ


                                                    ่
                                   ผู้เขียนรับราชการที่ศาลแพงกรุงเทพใต้ตั้งแต่วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๔๙ ถึงวันที่ ๓๑ มีนาคม
                 ๒๕๖๔  รวม ๑๕ ปี  ศาลแพ่งกรุงเทพใต้มีเขตอ านาจพื้นที่ใจกลางเมืองกรุงเทพมหานคร เป็นย่านเศรษฐกิจ
                 คู่ความส่วนใหญ่มีวุฒิภาวะ  คดีมีทุนทรัพย์สูง  สลับซับซ้อน การเดิมพันแพ้ชนะคดีของคู่ความเป็นไปอย่าง

                 จริงจัง  คู่ความมีเทคนิคในการต่อสู้คดีมาก โดยเฉลี่ยกรอบการใช้เวลาพจารณาในศาลชั้นต้น ๒ ปี
                                                                                 ิ
                 ศาลอุทธรณ์ ๑ ปี และศาลฎีกา ๑ ปี รวม ๔ ปี หลายคดีแม้โจทก์ชนะคดีในที่สุด ก็ไม่สามารถบังคับคดีตาม

                                                                                     ี
                                                                                            ิ
                 ค าพพากษาได้ เพราะจ าเลยยักย้ายถ่ายเททรัพย์สินไปหมดแล้ว  โจทก์จึงได้ไปเพยงค าพพากษาเท่านั้น
                     ิ
                                 ิ
                 หรือระหว่างการพจารณาเป็นปีๆ โจทก์อาจถูกกระท าละเมิดและเสียหายอยู่ตลอด โดยไม่ได้รับความ
                 คุ้มครองที่เป็นธรรมและรวดเร็ว ต้องรอจนกว่าศาลจะมีค าพพากษาก่อน เช่นนี้อาจส่งผลกระทบต่อความ
                                                                   ิ
                 เชื่อมั่นของประชาชนที่หวังให้ศาลยุติธรรมเป็นสถาบันที่จะให้ความคุ้มครองและให้ความเป็นธรรมแก่
                                                           ิ
                 ประชาชนได้ ผู้เขียนเห็นปัญหาเรื่องการใช้ดุลพนิจในการสั่งค าร้องขอคุ้มครองชั่วคราวและปัญหา
                                                                                        ิ
                 ในทางปฏิบัติที่เกิดขึ้นจริงในแต่ละคดี จึงขอยกตัวอย่างค าสั่งคุ้มครองชั่วคราวก่อนพพากษาที่เกิดขึ้นใน
                 ศาลแพ่งกรุงเทพใต้ ดังนี้
   244   245   246   247   248   249   250   251   252   253   254