Page 276 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 276
๒๖๓
ื่
ทางเลือกอนโดยไม่ผ่านกระบวนการทางศาล (extrajudicial measures) มีเจ้าพนักงานต ารวจเป็นผู้ใช้
ิ
ดุลพนิจเลือกใช้วิธีการหลากหลายในปฏิบัติต่อเด็กตามความเหมาะสม ขั้นตอนหลังแจ้งข้อกล่าวหา
ิ
(post-charge) โดยใช้มาตรกางแทรกแซงพเศษโดยไม่ผ่านกระบวนการทางศาล (extrajudicial
ั
sanction) แต่เป็นวิธีการที่เป็นทางการมากว่าขั้นตอนแรก ด าเนินการโดยพนักงานอยการ และขั้นตอน
สุดท้ายเป็นขั้นตอนของการคุมประพฤติ(probation) ซึ่งเป็นขั้นตอนหลังจากมีการฟ้องคดีต่อศาลแล้ว
บทสรุปของประเภทความผิดที่เหมาะสมกับการน ามาตรการพิเศษทางเลือกอนโดยไม ่
ื่
ผ่านกระบวนการทางศาล (Extrajudicial Measures)
บทบัญญัติในกฎหมาย Youth Criminal Justice Act ไม่ได้ก าหนดประเภทความผิดไว้
อย่างชัดเจนว่า ความผิดประเภทใดมีความเหมาะสมในการใช้มาตรการนี้กับเด็กที่กระท าความผิด แต่มี
การก าหนดหลักการและแนวทางไว้ชัดเจนในกฎหมายว่า มาตรการนี้จะต้องถูกน ามาใช้กับทุกคดี เมื่อ
ึ
เห็นว่าเป็นมาตรการที่เหมาะสมที่จะท าให้เด็กแสดงออกถงความรับผิดชอบของตนต่อการกระท าผิดของ
ตน และมีบทบัญญัติให้ข้อสันนิษฐานว่ามาตรการนี้มีความเหมาะสมส าหรับความผิดครั้งแรกและเป็น
ความผิดไม่รุนแรง (a non-violent offence and not previously been found guilty of an
offence) แต่ข้อสันนิษฐานในส่วนของประวัติการกระท าความผิดนั้นมิได้เป็นข้อสันนิษฐานเด็ดขาด
กล่าวคือ แม้ว่าเด็กที่กระท าความผิดจะเคยมีประวัติว่าเคยถูกน ามาตรการนี้มาบังคับใช้แล้วหรือเคยมี
ประวัติว่าเคยเป็นผู้กระท าความผิดมาแล้วก็สามารถน ามาตรการนี้มาใช้ปฏิบัติต่อเด็กที่กระท าความผิด
ี
ความผิดได้อก หากเป็นความผิดไม่รุนแรงและการน ามาตรการนี้มาใช้มีความที่เหมาะสมที่จะท าให้เด็ก
ึ
๔๓
แสดงออกถงความรับผิดชอบของตนต่อการกระท าผิดของตน ในระหว่างการจัดท าร่างกฎหมายฉบับนี้
มีการให้ค านิยามความหมายของความผิดไม่รุนแรง (a non-violent offence) ในร่างกฎหมายไว้ว่า
“ความผิดไม่รุนแรงคือความผิดที่ไม่ได้ก่อให้เกิดหรือสร้างให้เกิดการเสี่ยงต่อความเสียหายต่อร่างกาย
(bodily harm) แต่ค านิยามความหมายนี้ถูกตัดออกไปจากร่างกฎหมายฉบับสุดท้าย อย่างไรก็ตาม
หลังจากมีการประกาศใช้กฎหมายแล้ว มีคณะผู้วิจัยท าการศึกษากฎหมายฉบับนี้และ มีความเห็นว่า ใน
การบังคับใช้กฎหมาย ผู้ปฏิบัติควรน าค านิยามในร่างดังกล่าวมาตีความบังคับใช้มาตรการนี้ด้วยและมี
ข้อสังเกตว่าค านิยามดังกล่าวมิได้มีการกล่าวถึงความผิดเกี่ยวกับเพศ (sexually-based offences) แต่
การตีความบังคับใช้มาตรการนี้จะต้องไม่น ามาตรการนี้มาใช้กับเด็กที่กระท าความผิดเกี่ยวกับเพศ และ
้
ิ่
คณะผู้วิจัยยังมีค าแนะน าว่า ควรมีการแกไขกฎหมายและเพมบทบัญญัติค านิยามความหมายความผิดไม่
รุนแรง (non-violent offences ) ดังกล่าวในกฎหมาย และต้องมีข้อยกเว้นไม่ให้น ามาใช้กับความผิด
๔๓ Youth Criminal Justice Act, sec 4
bodily harm เป็นค านิยามความผิดของกฎหมายทั้งในกฎหมายลายลักษณ์อักษรและกฎหมายจารีต
ประเพณีทีใช้ในประเทศออสเตรเลีย แคนนาดา อังกฎษ เวลส์ และรวมถึงประเทศอื่น ๆ ที่ใช้ระบบกฎหมาย
common law