Page 275 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 275
๒๖๒
ไม่ผ่านกระบวนการทางศาล (extrajudicial sanctions program) ซึ่งเป็นกระบวนการเชิงสมานฉันท์
๔๐
(restorative justice) โดยต้องได้รับความยินยอมจากทั้งผู้กระท าความผิดและผู้เสียหาย เจ้าพนักงาน
ต ารวจอาจตัดสินใจว่าควรด าเนินการด้วยวิธีการอย่างไม่เป็นทางการ เช่น การว่ากล่าวตักเตือนเยาวชน
ี
ื่
เพอไม่ให้กระท าความผิดอกในภายภาคหน้า ในทางปฏิบัติเรียกขั้นตอนนี้ว่า “การกลั่นกรองโดย
เจ้าหน้าที่ต ารวจ (police screening)” วิธีการปฏิบัตินี้เป็นการสะท้อนให้เห็นถึงความเข้าใจที่ว่า การ
ว่ากล่าวตักเตือนโดยเจ้าพนักงานต ารวจมีประสิทธิภาพ ลดค่าใช้จ่าย และบางครั้งมีการจัดการเจรจา
ชดใช้ค่าเสียหายให้แก่ผู้เสียหาย ในหลายประเทศใช้วิธีการดังกล่าวอย่างแพร่หลายและมากกว่าประเทศ
แคนนาดา ตัวอย่างเช่น ประเทศนิวซีแลนด์ มีนโยบายที่กระตุ้นให้เจ้าหน้าที่ต ารวจใช้การว่ากล่าวเด็ก
ที่บ้านและอนุญาตให้มีการจัดการการว่ากล่าวตักเตือนเด็กต่อหน้าบิดามารดาที่สถานีต ารวจโดย
เจ้าพนักงานต ารวจผู้มีอาวุโส มีเจ้าหน้าที่ผู้ได้รับการฝึกฝนในการปฏิบัติต่อเด็กเป็นผู้จัดการประชุม
ึ
ปรึกษา เจราจาค่าเสียหาย การกล่าวขอโทษ การท างานบริการสังคม มีคดีถงประมาณ ๓ ใน ๔ ของเด็ก
ที่กระท าควาผิดที่เจ้าหน้าที่ต ารวจพบถูกด าเนินการโดยเจ้าพนักงานต ารวจโดยไม่ต้องใช้วิธีการอย่างเป็น
ทางการ มีคดีประมาณ ๑ ใน ๘ ใช้วิธีการประชุมทางครอบครัว(family group conference) เข้าแก้ไข
ปัญหา และมีคดีเพยง ๑ ใน ๘ ถูกด าเนินการด้วยกระบวนการทางศาล คดีส่วนใหญ่ที่เข้าสู้กระบวนการ
ี
ิ
ทางศาลจะเป็นคดีความผิดร้ายแรงหรือเป็นคดีที่เด็กปฏิเสธความผิดและต้องการกระบวนพจารณา
๔๑
ของศาล
ิ
จากแนวคิดและบทบัญญัติที่กล่าวมาหากเจ้าหน้าที่ต ารวจพจารณาแล้วเห็นว่ามาตรการ
พเศษทางเลือกอนในการปฏิบัติต่อเด็กโดยไม่ผ่านกระบวนการทางศาล(Extrajudicial Measures)
ิ
ื่
ไม่มีความเหมาะสมที่จะน ามาปฏิบัติต่อเด็ก กฎหมายยังคงบัญญัติให้มีมาตราเพมเติมอีกระดับที่เรียกว่า
ิ่
“มาตรการแทรกแซงพเศษที่เรียกว่า Extrajudicial sanction” ซึ่งเป็นมาตรการที่อาจเกิดขึ้นทั้งก่อน
ิ
และหลังจากมีการแจ้งข้อกล่าวหาก็ได้ขึ้นอยู่กับกฎหมายของแต่ละจังหวัด แต่ต้องอยู่ภายในการ
ด าเนินการโดยโครงการต่าง ๆ ที่อยการสูงสุดให้การรับรองโดยใช้รูปแบบอย่างเป็นทางการเท่านั้นและ
ั
จะมีผลเชิงบังคับทางกฎหมายติดตามมา เช่น ถ้าเด็กล้มเหลวในการปฏิบัติตามแผนการ คดีจะถูกส่งไป
๔๒
ยังศาลและหลักฐานที่เด็กถูกด าเนินการโดยวิธีการนี้สามารถน ามาใช้ลงโทษเด็กได้ จากที่กล่าวมา
ข้างต้นจึงอาจสรุประดับของการเบี่ยงเบนหรือผลักดันเด็กและเยาวชนที่กระท าความผิดออกจาก
กระบวนการทางศาลได้ ๓ ระดับ คือ ขั้นตอนก่อนแจ้งข้อกล่าวหา (pre-charge) โดยใช้มาตรการพิเศษ
๔๐ ณรงค์ ใจหาญ, รายงานผลการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์โดยการวิจัยเรื่อง “กระบวนการสร้างความยุติธรรม
เชิงสมานฉันท์ในศาลยุติธรรม”, (กรุงเทพมหานคร :โรงพิมพ์เดือนตุลา ,๒๕๕๓), หน้า ๑๐๕
๔๑ Nicholas Bala, Diversion, conference, and Extrajudicial Measures for Adolescent
Offenders, p1006-1007
๔๒ Department of Justice Canada, Extrajudicial Measures, Retrieved on July 26,2021, from
https://www.justice.gc.ca/eng/cj-jp/yj-jj/tools-outils/sheets-feuillets/pdf/mesu-mesur.pdf