Page 280 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 280

๒๖๗




                         ิ
                                                                    ิ
                     ข้อพพาททางอาญา หมายความว่า การไกล่เกลี่ยข้อพพาททางอาญาในชั้นสอบสวน โดยพนักงาน
                                                                                        ื่
                     สอบสวนจัดให้คู่กรณีในคดีอาญามีโอกาสเจรจาตกลงหรือเยียวยาความเสียหายเพอระงับคดีอาญา ตาม
                     บทบัญญัติในมาตรา ๔๑ ก าหนดประเภทความผิดที่สามารถไกล่เกลี่ยได้ ดังนี้

                            (๑) คดีความผิดอันยอมความได้
                            (๒) คดีความผิดหลุโทษตามมาตรา ๓๙๐ มาตรา ๓๙๑ มาตรา ๓๙๒ มาตรา ๓๙๓ มาตรา

                                ๓๙๔ มาตรา ๓๙๕ และมาตรา ๓๙๗ แห่งประมวลกฎหมายอาญา และความผิด ลหุโทษ
                                อื่นที่ไม่กระทบส่วนรวมตามที่ก าหนดในพระราชกฤษฎีกา จากบทบัญญัติดังกล่าวกฎหมาย

                                ให้อ านาจพนักงานสอบสวนมีอ านาจในการไกล่เกลี่ยประเภทคดีต่าง ๆ มากกว่า

                            (๓) ความผิดที่มีอตราโทษจ าคุกอย่างสูงไม่เกินสามปีตามบัญชีท้ายพระราชบัญญัตินี้ ซึ่งตาม
                                           ั
                                บัญชีท้ายดังกล่าวประกอบด้วย ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา (๑) ความผิด

                     ฐานเข้าร่วมในการชุลมุนต่อสู้และมีผู้ถึงแก่ความตายจาการชุลมุนต่อสู้นั้น ตามมาตรา ๒๙๔ วรรคหนึ่ง

                     (๒) ความผิดฐานท าร้ายร่างกาย ตามมาตรา ๒๙๕ (๓) ความผิดฐานท าร้ายร่างกายโดยมีเหตุฉกรรจ์
                                                                                   ั
                     ตามมาตรา ๒๙๖ (๔) ความผิดฐานเข้าร่วมในการชุนมุนต่อสู้และมีผู้ได้รับอนตรายสาหัสจาการต่อสู้นั้น
                                                                              ื่
                     ตามมาตรา ๒๙๙ วรรคหนึ่ง (๕) ความผิดฐานประมาทเป็นเหตุให้ผู้อนได้รับอนตรายสาหัส ตามมาตรา
                                                                                     ั
                     ๓๐๐ และ (๖) ความผิดฐานลักทรัพย์ ตามมาตรา ๓๓๔ จากบทบัญญัติดังกล่าว มีข้อสังเกตได้ว่า
                     พระราชบัญญัตินี้ให้อ านาจของพนักงานสอบสวน มีอ านาจในการจัดการไกล่เกลี่ยข้อพิพาททางอาญาใน

                                                                                 ื่
                     ประเภทความผิดต่าง ๆ มากกว่าประเภทของความผิดที่ให้หน่วยงานอนในการไกล่เกลี่ยในหมวด ๒
                                                                                          ิ
                     ดังกล่าว เมื่อผู้ท าการไกล่เกลี่ยจัดให้มีการไกล่เกลี่ยและคู่กรณีท าข้อตกลงระงับข้อพพาททางอาญาแล้ว
                                             ้
                                                                              ๕๐
                     ให้ถือว่าสิทธิน าคดีอาญามาฟองย่อมระงับเฉพาะคู่กรณีซึ่งท าข้อตกลง  แต่การไกล่เกลี่ยข้อพพาทตาม
                                                                                                  ิ
                     บทบัญญัติดังกล่าวจะต้องอยู่บนพื้นฐานของความยินยอมของคู่กรณีทั้งสองฝ่าย  ส่วนการไกล่เกลี่ยโดย
                                                                                      ๕๑
                     พนักงานสอบสวน นั้น ทางพนักงานสอบสวนจะต้องแจ้งสิทธิในการไกล่เกลี่ยให้คู่กรณีทราบโดยเร็วใน
                     โอกาสแรกว่า มีสิทธิยื่นค าร้องขอไกล่เกลี่ยข้อพพาททางอาญา  แต่พนักงานสอบสวนยังคงมีอานาจ
                                                                         ๕๒
                                                             ิ

                      ิ
                     พจารณามีความเห็นเสนอ หากพนักงานสอบสวนผู้มีอานาจออกค าสั่งเห็นว่าพฤติการณ์ของการกระท า

                                                                                                      ิ
                     ความผิดไม่ร้ายแรงและไม่ส่งผลกระทบรุนแรงต่อสังคมโดยรวมให้พจารณามีค าสั่งให้ไกล่เกลี่ยข้อพพาท
                                                                            ิ
                     ทางอาญา   โดยผู้ไกล่เกลี่ยที่ได้รับการแต่งตั้งจะท าหน้าที่ไกล่เกลี่ยและเมื่อตกลงกนได้ ให้มีการจัดท า
                                                                                          ั
                              ๕๓
                                ี
                     บันทึก หากมการปฏิบัติตามข้อตกลงแล้วให้แจ้งพนักงานสอบสวนทราบเพอจัดท าบันทึกการปฏิบัติตาม
                                                                                  ื่
                                                                                         ื่
                                                                                            ิ
                                             ั
                                                                                     ื่
                     ข้อตกลงส่งไปให้พนักงานอยการพร้อมส านวนการสอบสวนและเอกสารอนเพอพจารณาสั่งยุติคดี

                            ๕๐  พระราชบัญญัติการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท พ.ศ.๒๕๖๒, มาตรา ๓๕,๖๓
                            ๓๒  เรื่องเดียวกัน, มาตรา ๕๔
                            ๕๒  เรื่องเดียวกัน, มาตรา ๔๓
                            ๕๓  เรื่องเดียวกัน, มาตรา ๔๔
   275   276   277   278   279   280   281   282   283   284   285