Page 285 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 285

๒๗๒




                                                                                                     ื่
                     และเหตุผลไว้ในบทบัญญัติของกฎหมายอย่างชัดเจน โดยเฉพาะในส่วนของมาตรการทางเลือกอนหรือ
                               ิ
                     มาตรการพเศษโดยไม่ผ่านกระบวนการทางศาล (Alternative Measures/Extrajudicial measure)
                                                                                                    ื่
                                                          ื่
                     มีการแก้ไขปรับปรุงจากกฎหมายฉบับเดิมเพอให้มีการน ามาบังคับใช้ในทางปฏิบัติให้มากขึ้นเพอแก้ไข
                                                                                        ั
                     ปัญหาของกระบวนการยุติธรรมส าหรับเด็กของประเทศแคนนาดา ที่มีเด็กถูกคุมขงเป็นจ านวนมาก โดย
                                                            ื้
                                                                                                 ื่
                     มีการประกาศจุดมุ่งหมายชัดเจนในการแก้ไขฟนฟเด็กและเยาวชนให้กลับตัวเข้าสู่สังคมเพอใช้ชีวิตได้
                                                               ู
                     ตามปกติ ลดอตราการกระท าควาผิดซ้ าและหลีกเลี่ยงผลกระทบทางลบต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นกับเด็กและ
                                 ั
                                                                                                     ิ่
                     เยาวชนจากการใช้มาตรากรอย่างเป็นทางการ (formal processed of court) โดยการแก้ไขเพมเติม
                     อ านาจของเจ้าหน้าที่ต ารวจและพนักงานอัยการให้มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้นในการเลือกใช้มาตราอื่นนอก

                     กระบวนการทางศาล และมีข้อบัญญัติเชิงบังคับ (require) ให้เจ้าหน้าที่ต ารวจและพนักงานอัยการต้อง
                      ิ
                     พจารณาเลือกใช้มาตรการที่เหมาะสมที่เรียกว่า Extrajudicial measures มาปฏิบัติต่อเด็กที่กระท า
                                                                               ื่
                     ความผิดเป็นอนดับแรกก่อนที่จะใช้วิธีการแจ้งข้อกล่าวหาด าเนินคดีเพอส่งฟองต่อศาลตามขั้นตอนปกติ
                                 ั
                                                                                   ้
                                                          ิ
                     การเพมอานาจให้เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องมีดุลพนิจเลือกใช้มาตราการต่างๆ เช่น การไม่ด าเนินการใดและ

                          ิ่
                                                                                 ื้
                                                                                    ู
                     ปล่อยตัวเด็กกลับไปสู่ครอบครัว การว่ากล่าวตักเตือน การส่งไปบ าบัดฟนฟยังโครงการต่าง ๆ ที่มีการ
                                                                          ื้
                                                                             ู
                     จัดตั้งไว้ในชุมชนนั้น ๆ  ย่อมท าให้เด็กได้รับโอกาสในการแก้ไขฟนฟด้วยมาตราการที่มีประสิทธิภาพใน
                     ช่วงเวลาที่เหมาะสม (effective and timely responses) ขึ้นอยู่กับความจ าเป็นของเด็กแต่ละบุคคล
                     หลังจากประกาศใช้กฎหมายฉบับปัจจุบัน
                            มีการจัดท ารายงานวิจัยติดตามผลการบังคับใช้กฎหมายชื่อว่า “Examining the Utility of
                                                                              ๗๗
                     Pre-Charge Youth Diversion Programs: A Canadian Context”  ซึ่งเป็นรายงานวิจัยที่ใช้สถิติ
                     ข้อมูลทางคดีของต ารวจท้องถิ่น (a local police service) ในรัฐ Ontario  โดยใช้วิธีการวิเคราะห์

                                              ั
                     เปรียบเทียบเพอหาความสัมพนธ์ระหว่างสองตัวแปรเปรียบเทียบ (a bivariate analysis) เพอส ารวจ
                                                                                                   ื่
                                  ื่
                     ลักษณะเฉพาะของเด็กและเยาวชน เช่น อายุ เพศ เชื้อชาติและถิ่นที่อยู่อาศัยกับโอกาสที่ได้รับจากการ
                     ใช้การใช้ดุลพนิจของเจ้าหน้าที่ต ารวจว่าจะแจ้งข้อกล่าวหาหรือผลักดันเด็กหรือเยาวชนออกจาก
                                 ิ
                     กระบวนการทางศาล ในคดีความผิดครอบครองยาเสพติดและลักทรัพย์เล็กน้อย ผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่า

                                                                                    ิ
                     การบังคับใช้มาตรการก่อนแจ้งข้อกล่าวหา (Pre-charge) มีผลต่อการใช้ดุลพนิจตัดสินใจต่อการแจ้งข้อ
                     กล่าวหาและผลการวิจัยยังชี้ให้เห็นอกว่า มีการใช้ดุลพนิจที่แตกต่างกันบ้างตามบุคลิกภาพของผู้ใช้
                                                                    ิ
                                                    ี
                         ิ
                     ดุลพนิจ นอกจากนี้ยังพบว่าคดีที่เด็กกระท าความผิดในข้อหาลักทรัพย์ ราคาทรัพย์น้อยกว่า ๕,๐๐๐
                     ดอลล่าร์แคนนาดา คิดเป็นเงินไทยประมาณ ๑๓๐,๐๐๐ บาท และคดีครอบครองกัญชาเล็กน้อย มีคดีถึง
                     ประมาณร้อยละ ๕๔.๕ ที่เจ้าหน้าที่ต ารวจใช้วิธีการตักเตือนอย่างเป็นทางการ (a formal caution)

                     และตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๕๐ อนเป็นปีแรกที่มีการจัดตั้งโครงการผลัดดันหรือเบี่ยงเบนคดี (Diversion
                                            ั



                            ๗๗  Kanika Sumuels, Examining the Utility of Pre-Charge Youth Diversion Programs: A
                     Canadian Context, p.76
   280   281   282   283   284   285   286   287   288   289   290