Page 288 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 288

๒๗๕




                     ๑๓๒ มาใช้ ๙,๒๔๙ คดี ไม่ส าเร็จ ๗๕๘ คดี อยู่ระหว่างด าเนินการ ๙,๘๑๙ คดี จากจ านวนคดีทั้งหมด
                                                                             ื่
                                ๘๓
                     ๑๔,๘๐๔ คดี  จากสถิติดังกล่าวจะเห็นได้ว่ามาตรการทางเลือกอนโดยไม่ผ่านกระบวนการทางศาล

                     ก่อนการแจ้งข้อกล่าวหา (pre-charge) กฎหมายของไทยให้อานาจเจ้าพนักงานต ารวจไว้เพยงเล็กน้อย
                                                                                                 ี
                                                                           ั
                     เฉพาะในความผิดที่เปรียบเทียบปรับในชั้นสอบสวนได้เท่านั้น อนแตกต่างจากกฎหมายของประเทศ

                     แคนนาดาที่ให้อานาจเจ้าพนักงานสอบสวนในการกลั่นกรองคดี (screening process) เพอเลือกใช้
                                                                                                  ื่
                     มาตรการพเศษต่าง ๆ แทนการแจ้งข้อกล่าวหาด าเนินคดีอย่างเป็นทางการอนเป็นหลักการและวิธีทาง
                              ิ
                                                                                    ั
                     ปฏิบัติที่นานาอารยประเทศมีใช้กันอย่างแพร่หลายด้วยหลักการและเหตุผลดังกล่าวมาข้างต้น ท าให้
                     กฎหมายของไทยในส่วนนี้ยังไม่มีความสอดคล้องกับนานาอารยประเทศ และอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กที่

                     ประเทศไทยเข้าเป็นภาคีสมาชิก ท าให้อาจส่งผลเสียก่อนการแก้ไขปรับปรุงเด็กและเยาวชนให้กลับตัว
                     เป็นพลเมืองดีของสังคงเนื่องจากเจ้าหน้าที่ของกระบวนการยุติธรรมไม่มีอานาจเลือกใช้มาตรการที่

                     เหมาะสมในการปฏิบัติต่อเด็กในช่วงเวลาที่รวดเร็ว(effective and timely responses) จากสถิติ

                     ดังกล่าวจะเห็นได้ว่าเด็กและเยาวชนจะได้รับการบ าบัดแก้ไขก็เมื่อล่วงเลยระยะเวลาเข้ามาสู่
                     กระบวนการพิจารณาของศาลแล้วซึ่งอาจเป็นช่วงเวลาที่อาจสายเกินไปในการใช้มาตรการต่าง ๆ ในการ

                     บ าบัดรักษาเพราะเมื่อถึงเวลานั้นเด็กหรือเยาวชนอาจกลับกลายเป็นผู้ที่ไม่อาจแก้ไขฟื้นฟได้อกต่อไป จา
                                                                                                 ี
                                                                                              ู
                                                        ิ
                                                 ิ
                     การสัมภาษณ์พบว่า         ในพจารณาพพากษาคดีเด็กและเยาวชนกระท าความผิด จากการสืบเสาะ
                                     ๘๔
                     ประวัติพบว่าสาเหตุการกระท าความผิดเกิดจากหลายประการ เช่น  ๑.สภาพครอบครัวไม่ปกติ  บิดา
                                                ุ
                     มารดาแยกทางกัน ไม่ได้ช่วยกันอปการะเลี้ยงดู ส่งผลให้จ าเลยพกอาศัยอยู่กับคนเลี้ยงที่อายุมาก ท าให้
                                                                          ั
                     เกิดช่องว่างระหว่างวัย คนเลี้ยงตามเยาวชนไม่ทัน เยาวชนไม่ฟงคนเลี้ยง ๒.วิธีการควบคุมพฤติกรรม
                                                                          ั
                     ผู้ปกครองไม่มีการวางกฎระเบียบ อย่างน้อยที่สุดต้องมีการห้ามการกระท าความผิด เช่น ไม่ได้
                     ก าหนดเวลากลับบ้าน หรือไม่ได้ให้ช่วยเหลืองานบ้าน หรือฝึกให้ท างานสะสมเงิน รู้จักประหยัด ส่งผลให้

                     เยาวชนเที่ยวเตร่นอกบ้าน โอกาสในการกระท าความผิดจึงมีสูง ใช้จ่ายโดยไม่มีการออม ท าให้ต้องหาเงิน

                     ด้วยวิธีลัดโดยการท าผิด ภาวะการเป็นผู้น าและผู้ตามที่ดีไม่ได้รับการฝึกฝน คล้อยตามคนอนให้ชักจูงไป
                                                                                               ื่
                     ในการกระท าความผิดได้ง่าย มีตัวอย่างในคดีข้อหาลักทรัพย์ จ าเลยเข้าไปลักเงินในตู้บริจาคของวัด

                     เจ้าอาวาสประสงค์ที่จะให้โอกาสจ าเลยกลับตัว แต่ชาวบ้านไม่ยอม เพราะเห็นว่าเป็นเรื่องร้ายแรง จึงมี

                     การแจ้งความ พนักงานสอบสวนจึงด าเนินคดี ไม่อาจใช้มาตรา ๘๖ ได้ เพราะผู้เสียหายไม่ยินยอม แต่
                                                                                                ู
                     เมื่อคดีมาถึงศาล เจ้าอาวาสกลับให้ความร่วมมือด้วยดี เพราะไม่ให้ชาวบ้านหรือลูกศิษย์พด และเชิญ
                     ออกนอกห้องพจารณา จึงได้ใช้ มาตรา ๑๓๒ วรรคหนึ่ง คืนตัวให้ผู้ปกครอง พาไปอยู่ที่วัด และให้เจ้า
                                  ิ
                     อาวาสเป็นผู้ควบคุมความประพฤติ หากมีชาวบ้านหรือบุคคลใดขัดขวางให้รายงานศาลทันที จากบท
                     สัมภาษณ์ดังกล่าวนี้สะท้อนให้เห็นว่าประชาชนยังขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและหลักการ



                            ๘๓  รายงานสถิติคดีศาลยุติธรรมทั่วราชอาญาจักร ประจ าปี พ.ศ.๒๕๖๒, หน้า ๑๙๕
                            ๘๔  นายวุฒิ ศรีธีระวิศาล, ผู้พิพากษาศาลแขวงพระนครใต้, สัมภาษณ์.ศาลแขวงพระนครใต้, ๒๑  กรกฎาคม
                     ๒๕๖๔.
   283   284   285   286   287   288   289   290   291   292   293