Page 290 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 290

๒๗๗




                     เป็นทางการและเลือกใช้มาตรการที่เหมาะสมมาปฏิบัติกับเด็กและเยาวชนได้อย่างมีประสิทธิภาพและ
                             ั
                     ทันเวลาอนจะท าให้เด็กและเยาวชนได้รับประโยชน์สูงสุด และระบบกฎหมายของประเทศไทย
                                                                                                   ิ
                     ยังแตกต่างกับระบบของประเทศแคนนาดา เนื่องในประเทศแคนนาดามีการน ามาตรการพเศษโดย
                     ไม่ผ่านกระบวนการทางศาล มาบังคับใช้กับทั้งคดีที่ผู้ใหญ่กระท าความผิดและเด็กหรือเยาวชนเป็น
                     ผู้กระท าความผิด ดังนั้นจึงเป็นที่น่าเสียดายที่ประเทศไทยประกาศใช้พระราชบัญญัติการไกล่เกลี่ย

                         ิ
                     ข้อพพาท พ.ศ.๒๕๖๒ ซึ่งเป็นกฎหมายที่มีแนวคิด วัตถุประสงค์ และหลักการเหมือนกับมาตรการ
                     ทางเลือกอนและมาตรการพเศษในการปฏิบัติต่อเด็กและเยาวชนโดยไม่ผ่านกระบวนการทางศาล
                              ื่
                                              ิ
                     (Alternative or extrajudicial Measures)  แต่กฎหมายนี้มีบทบัญญัติยกเว้นห้ามมิให้น ามาบังคับใช้

                     กับคดีที่เด็กและเยาวชนที่กระท าความผิดอยู่ในอ านาจฯศาลเยาวชนและครอบครัว
                                                                                        ๘๕
                     ๕. บทสรุปและข้อเสนอแนะ

                                แนวคิดและวัตถุประสงค์ในการด าเนินคดีกับเด็กและเยาวชนผู้กระท าความผิดมุ่งเน้นไปที่
                              ื้
                     การแก้ไขฟนฟเด็กและเยาวชนผู้กระท าความผิดกลับตัวเป็นพลเมืองดีและกลับคืนสู่สังคมไปใช้ชีวิตได้
                                 ู
                     ตามปกติสุขและต้องมีวิธีการปฏิบัติที่แตกต่างไปจากผู้ใหญ่ที่กระท าความผิดเนื่องจากเด็กและเยาวชนยัง

                     มีวุฒิภาวะแตกต่างจากผู้ใหญ่ จึงมีการจัดตั้งศาลเยาวชนและครอบครัวขึ้นมา แต่ในปัจจุบันแนวคิด

                     เกี่ยวกับการด าเนินคดีกับผู้กระทาความผิดโดยเฉพาะอย่างยิ่งคดีที่ผู้กระท าความผิดเป็นเด็กและเยาวชน
                     ให้ความส าคัญเกี่ยวกับการผลักดันหรือเบี่ยงเบน (Diversion) ออกจากกระบวนการยุติธรรมตาม

                     ขั้นตอนปกติ  โดยการปฏิบัติต่อเด็กและเยาวชนผู้กระท าความผิดโดยไม่ผ่านกระบวนการทางศาล
                     (Alternative Measures) ในคดีที่เป็นความผิดเล็กน้อย (less serious offenses) เพอเป็นการ
                                                                                                ื่
                     หลีกเลี่ยงผลกระทบทางลบที่อาจเกิดขึ้นกับเด็กและเยาวชนอนเนื่องมาจากการปฏิบัติต่อเด็กและ
                                                                          ั
                     เยาวชน อย่างเคร่งครัดโดยกระบวนการทางศาล (Formal Court) เช่น การสร้างตราบาปให้แก่เด็กและ
                     เยาวชนผู้กระท าความผิด และนอกจากนี้กระบวนการยุติธรรมอย่างเป็นทางการท าให้มีเด็กและเยาวชน

                     ถูกคุมขังอยู่ในกระบวนการเป็นจ านวนมาก อกทั้งกระบวนนี้ยังให้ความส าคัญกับการเยียวยาผู้เสียหาย
                                                           ี
                     และสังคมที่ได้รับผลกระทบจากความผิดที่เกิดขึ้น โดยเปิดโอกาสให้ผู้กระท าความ ผู้เสียหายและตัวแทน

                     ชุมชนเข้ามาพดคุยเจรจากันเพอหาทางออกในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นทั้งหมด ประเทศไทยได้รับเอา
                                 ู
                                               ื่
                     แนวความคิดดังกล่าวมาปรับปรุงระบบกฎหมายมาโดยตลอด โดยเฉพาะมีการประกาศใช้

                     พระราชบัญญัติการไกล่เกลี่ยข้อพพาท พ.ศ. ๒๕๖๒ ที่ให้อานาจเจ้าหน้าที่ต ารวจและพนักงานอยการ
                                                                                                     ั
                                                 ิ
                     เข้าเจรจาไกล่เกลี่ยและยุติโดยไม่ต้องฟ้องคดีต่อศาล เแต่เป็นที่น่าเสียดายที่มีบทบัญญัติในมาตรา ๘ มิได้
                     น ากฎหมายฉบับนี้ไปบังคับใช้กับเด็กและเยาวชนที่อยู่ในอ านาจของศาลเยาวชนและครอบครัว จึงท าให้

                     ในปัจจุบันเจ้าพนักงานต ารวจในชั้นสอบสวนคงมีอานาจใช้ดุลพนิจยุติคดี โดยการว่ากล่าวตักเตือนเด็ก

                                                                          ิ
                     และเยาวชนที่กระท าความผิดกฎหมายที่มีโทษปรับเพียงอย่างเดียว หากเด็กและเยาวชนกระท าความผิด



                            ๘๕  พระราชบัญญัติการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท พ.ศ.๒๕๖๒, มาตรา ๘
   285   286   287   288   289   290   291   292   293   294   295