Page 291 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 291

๒๗๘




                      ื่
                     อนที่มีโทษจ าคุกรวมอยู่ด้วยและเป็นคดีความผิดเล็กน้อย (less serious offense) เช่น การลักทรัพย์
                                                               ี
                     ในร้านสะดวกซื้อหรือห้างสรรพสินค้า ในราคาเพยงเล็กน้อยเช่น ราคาไม่เกิน ๑๐,๐๐๐ บาท หรือ
                                                                                                   ื่
                     กระท าความผิดฐานท าร้ายร่างกาย ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๙๕ หรือความผิดอนใดตาม
                                                                                     ิ
                     บัญชีท้ายของพระราชบัญญัติดังกล่าว พนักงานสอบสวนจะไม่มีอานาจใช้ดุลพนิจในการเลือกปฏิบัติต่อ

                                                        ื่
                     เด็กและเยาวชนที่กระท าความผิดโดยวิธีอน นอกจากต้องแจ้งข้อกล่าวหาด าเนินคดีและส่งตัวเด็กและ
                     เยาวชนไปยังสถานพินิจและคุ้มครองเด็กภายใน ๒๔ ชั่วโมงตามขั้นตอนของกฎหมายในปัจจุบันและต้อง
                                                                                     ้
                     ส่งส านวนการสอบสวนพร้อมตัวผู้กระท าความผิดไปยังพนักงานอยการเพอฟองคดีต่อศาลเยาวชนและ
                                                                                  ื่
                                                                           ั
                     ครอบครัวต่อไป สุดท้ายคดีดังกล่าวก็จะถูกศาลเยาวชนและครอบครัว มีค าสั่งใช้มาตรการพิเศษแทนการ
                     ด าเนินคดีอาญาดังสถิติที่กล่าวมาข้างต้น กระบวนการยุติธรรมที่เคร่งคัดดังกล่าวเป็นที่ยอมรับของนานา
                     อารยประเทศแล้วว่าส่งผลเสียต่อเด็กและเยาวชนเป็นอย่างมาก เช่น การสร้างตราบาปให้มีมลทินว่าเป็น

                     ผู้กระทาความผิด มีประวัติว่าถูกศาลตัดสินเป็นผู้กระท าความผิด และอาจส่งผลให้เด็กและเยาวชนที่เข้า

                                                                                                 ื่
                     สู่กระบวนการอย่างเคร่งครัดนี้เข้าไปเรียนรู้พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมจากผู้กระท าความผิดอนและอาจ
                                                                ู
                     กลายเป็นผู้ที่มีพฤติกรรมที่ยากต่อการแก้ไขฟนฟให้กลับตัวเป็นคนดีของสังคม นอกจากนี้การมี
                                                             ื้
                     กระบวนการยุติธรรมส าหรับเด็กและเยาวชนที่ไม่มีมาตรการทางเลือกอื่นนอกกระบวนการทางศาลย่อม
                     ส่งผลให้ในแต่ละปี    มีคดีเข้าสู่กระบวนพจารณาพพากษาของศาลเป็นจ านวนมากทั้งที่บางคดี
                                                                   ิ
                                                           ิ
                     เป็นความผิดเล็กน้อย ท าให้ศาลต้องสูญเสียงบประมาณและบุคคลากรโดยเฉพาะผู้พพากษาในการ
                                                                                              ิ
                      ิ
                     พจารณาพพากษาคดีกับคดีความผิดเล็กน้อยจนไม่มีเวลาเพยงพอที่จะให้ความส าคัญกับคดีที่มีความ
                              ิ
                                                                       ี
                     รุนแรงหรือมีความซับซ้อนย่อมส่งผลให้การพิจารณาและพพากษามีประสิทธิภาพน้อยลง
                                                                    ิ
                                ดังนั้น หากกระบวนการยุติธรรมส าหรับเด็กและเยาวชนในประเทศไทย มีการแก้ไข
                     ปรับปรุงให้ขั้นตอนการด าเนินคดีของเจ้าพนักงานต ารวจมีกระบวนการกลั่นกรองคดี (police

                     screening) เพอผลักดันหรือเบี่ยงเบน(diversion)เด็กและเยาวชนออกจากกระบวนการยุติธรรมตาม
                                 ื่
                     ขั้นตอนปกติโดยไม่ต้องผ่านกระบวนการทางศาล (alternative measures without proceeding
                     through the formal court) เหมือนกับกระบวนการยุติธรรมส าหรับในประเทศแคนนาดาและ

                     พระราชบัญญัติการไกล่เกลี่ยข้อพพาท พ.ศ. ๒๕๖๒ ย่อมท าให้กระบวนการยุติธรรมส าหรับเด็กและ
                                                 ิ
                     เยาวชนของประเทศไทย มีความสอดคล้องกับกฎหมายของนานาอารยประเทศและยังสอดคล้องกับ
                     อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กที่ประเทศไทยเข้าไปภาคีสมาชิก ส่งผลให้รัฐมีอานาจเข้าไปแทรกแซง

                     พฤติกรรมของเด็กและเยาวชนได้ทันท่วงทีและคัดสรรมาตรการที่หลากหลายตามความเหมาะสม

                                                                                                         ื่
                     (effective and timely response) โดยไม่ผ่านกระบวนการทางศาล มาปฏิบัติต่อเด็กและเยาวชนเพอ
                                                                 ื่
                                                                                           ี
                     แก้ไขฟนฟให้เด็กและเยาวชนกลับตัวเป็นพลเมืองดีเพอให้เด็กได้รับประโยชน์สูงสุด อกทั้งยังเปิดโอกาส
                           ื้
                              ู
                     ให้ผู้เสียหายและชุมชุมที่ได้รับผลกระทบจากความผิดที่เกิดขึ้นเข้ามามีส่วนเกี่ยวกับและร่วมกันตัดสินใจ
                     ในการปฏิบัติต่อเด็กและยาวชน ย่อมเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เสียหายได้รับการชดใช้ค่าเสียหายและ
                                       ั
                     เสริมสร้างความสัมพนธ์ระหว่างผู้กระท าความผิดและผู้เสียหายดีขึ้นและก่อให้เกิดสังคมที่สงบสุข
   286   287   288   289   290   291   292   293   294   295   296