Page 281 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 281
๒๖๘
ั
้
๕๔
เมื่อพนักงานอยการสั่งยุติคดี สิทธิน าคดีอาญามาฟองย่อมระงับไปเช่นกัน จากบทบัญญัติและเหตุผล
ั
ในประกาศใช้พระราชบัญญัตินี้ จะเห็นได้ว่าเป็นกฎหมายที่สอดคล้องกบแนวคิดในการผลักดันผู้กระท า
ความผิดออกจากกระบวนยุติธรรมทางอาญา (Diversion) โดยการมุ่งเน้นส่งเสริมความสมานฉันท์
ิ
ั
ระหว่างคู่ความให้กลับมามีความสัมพนธ์ที่ดีต่อกัน รวมทั้งยังมีบทบัญญัติให้มีการไกล่เกลี่ยข้อพพาท
๕๕
ในทางแพงไปพร้อมกันอกด้วย แนวคิดในการยุติคดีตามกฎหมายดังกล่าว มีการน าไปใช้อย่าง
่
ี
แพร่หลายในหลายประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ รวมถึงประเทศแคนนาดา โดย
น าไปใช้ทั้งกับผู้กระท าความผิดที่เป็นผู้ใหญ่และเด็ก แต่เป็นที่น่าเสียหายพระราชบัญญัติดังกล่าวไม่
๕๖
สามารถน ามาบังคับใช้กับเด็กและเยาวชนที่อยู่ในเขตอานาจของศาลเยาวชนและครอบครัว เนื่องจาก
มีบทบัญญัติมิให้น าพระราชบัญญัตินี้มาบังคับใช้
๕๗
ิ
เมื่อพเคราะห์ถึงแนวคิดของกฎหมายที่น ามาปฏิบัติต่อเด็กและเยาวชนที่กระท าความผิด
กฎหมายของประเทศไทย จะเห็นได้ว่าประเทศไทยยอมรับและน าเอาแนวคิดในการด าเนินคดีเด็กและ
เยาวชนที่กระท าความผิดที่มุ่งเน้นในการแก้ไขฟนฟให้กลับตัวเป็นพลเมืองดี ตั้งแต่มีการจัดตั้ง
ื้
ู
ศาลเยาวชนและครอบครัว ครั้งแรกในปี พ.ศ.๒๔๙๔ แต่กฎหมายยังคงมีความเคร่งครัดเนื่องจากไม่ให้
อานาจพนักงานสอบสวนในการยุติคดีในชั้นสอบสวนในความผิดอาญาบางประเภท เช่น ความผิด
ลหุโทษ ต่อมามีการแก้ไขกฎหมายประกาศใช้พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธี
๕๘
ิ
พจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ.๒๕๓๔ ให้พนักงานสอบสวนมีอานาจเปรียบเทียบปรับในคดี
เล็กน้อยได้ ดังเหตุผลในหมายเหตุที่ระบุว่า “เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้คือ โดยที่
กฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งศาลเยาวชนและครอบครัวและกฎหมายว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีเด็กและเยาวชน
ไม่เหมาะสมหลายประการ เช่น มิได้ให้อานาจพนักงานสอบสวนในการเปรียบเทียบปรับคดีอาญาที่เด็ก
ั
หรือเยาวชนต้องหาว่ากระท าการอนกฎหมายบัญญัติเป็นความผิด...” และก าหนดอานาจให้พนักงาน
๕๙
สอบสวนมีอานาจเปรียบเทียบปรับได้ การแก้กฎหมายให้อานาจพนักงานสอบสวนในการยุติคดีโดย
๖๐
การเปรียบเทียบปรับดังกล่าว เป็นแนวความคิดก าหนดให้กระบวนการยุติธรรมส าหรับเด็กและเยาวชน
๕๔ เรื่องเดียวกัน, มาตรา ๖๖
๕๕ เรื่องเดียวกัน, มาตรา ๓๘,๔๗
๕๖ รายละเอียดู ชญานิศ ภาชีรัตน์, “กฎหมายต้นแบบว่าด้วยการระงับข้อพิพาทในกระบวนการยุติธรรมทาง
อาญา,” นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม, ๒๕๖๒
๕๗ พระราชบัญญัติการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท พ.ศ.๒๕๖๒, มาตรา ๘
๕๘ อดิศร ตรีเนตร “อ านาจผู้อ านวยการสถานพินิจในการท าความสั่งไม่ฟ้องคดีอาญาที่เด็กหรือเยาวชน
กระท าผิด” (ปริญญานิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขานิติศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๓), หน้า
๑๑๗-๑๑๙
๕๙ ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ ๑๐๘/๒๐๓ ลงวันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๓๔
๖๐ พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ.๒๕๓๔,
มาตรา ๕๐