Page 309 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 309
๒๙๖
บทสรุปและข้อเสนอแนะ
ิ
ุ
จากการศึกษากรณีการฎีกาค าพพากษาหรือค าสั่งของศาลอทธรณ์จะกระท าได้ต่อเมื่อได้รับอนุญาต
ิ่
จากศาลฎีกาแล้วพบว่า หลักการและเหตุผลของการตราพระราชบัญญัติแก้ไขเพมเติมประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับที่ ๒๗) พ.ศ. ๒๕๕๘ คือบทบัญญัติของประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
ในส่วนการฎีกาไม่สามารถกลั่นกรองคดีที่ไม่เป็นสาระอนควรแก่การวินิจฉัยของศาลฎีกาได้อย่างมี
ั
ประสิทธิภาพเพียงพอ ท าให้การพิจารณาพิพากษาคดีของศาลฎีกาเกิดความล่าช้า ส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่น
ื่
ิ
ิ
และความศรัทธาที่มีต่อระบบศาลยุติธรรม ดังนั้น เพอให้การพจารณาพพากษาคดีของศาลฎีกาเป็นไปอย่างมี
ประสิทธิภาพให้ความเป็นธรรมแก่บุคคลที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายได้อย่างแท้จริงและรวดเร็วขึ้น จึงก าหนดให้คาลฎีกา
ิ่
มีอ านาจพิจารณาว่าคดีที่ได้ยื่นฎีกาใดสมควรอนุญาตให้ขึ้นสู่การพิจารณาของศาลฎีกา จึงได้มีการแก้ไขเพมเติม
ประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความแพงตามพระราชบัญญัติแก้ไขเพมเติมประมวลกฎหมายวิธีพจาณาความ
ิ่
ิ
่
ิ
่
๒
ี
ื่
แพง (ฉบับที่ ๒๗) พ.ศ. ๕ ๕ ๘ โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพยงเพอลดปริมาณคดีในชั้นศาลฎีกา
แต่หลังจากที่พระราชบัญญัติดังกล่าวมีผลใช้บังคับแล้วท าให้คดีที่เคยต้องห้ามฎีกาในข้อเท็จจริงตามมาตรา
ิ
๒๔๘ เดิม คือคดีที่ราคาทรัพย์สินหรือจ านวนทุนทรัพย์ที่พพาทกันในชั้นฎีกาไม่เกินสองแสนบาทหรือไม่เกิน
จ านวนที่ก าหนดไว้ในพระราชกฤษฎีกา สามารถยื่นฎีกาตามพระราชบัญญัตินี้ได้ จึงอาจท าให้ปริมาณการยื่น
ฎีกาและค าร้องขออนุญาตฎีกาเพมขึ้นจ านวนมากซึ่งเป็นการเพมภาระงานของศาลฎีกาในการพจารณาค าร้อง
ิ
ิ่
ิ่
ขออนุญาตฎีกา
ิ
ส่วนการพจารณาค าร้องนั้น มาตรา ๒๔๙ ก าหนดให้ศาลฎีกาพจารณาอนุญาตให้ฎีกาได้เมื่อ
ิ
เห็นว่าปัญหาตามฎีกานั้นเป็นปัญหาส าคัญที่ศาลฎีกาควรวินิจฉัย รวมถึงกรณีดังต่อไปนี้
(๑) ปัญหาที่เกี่ยวพันกับประโยชน์สาธารณะ หรือความสงบเรียบร้อยของประชาชน
ุ
(๒) เมื่อค าพพากษาหรือค าสั่งของศาลอทธรณ์ได้วินิจฉัยข้อกฎหมายที่ส าคัญขัดกันหรือขัดกับ
ิ
แนวบรรทัดฐานของค าพิพากษาหรือค าสั่งของศาลฎีกา
ุ
ิ
(๓) ค าพพากษาหรือค าสั่งของศาลอทธรณ์ได้วินิจฉัยข้อกฎหมายที่ส าคัญซึ่งยังไม่มีแนวค าพพากษา
ิ
หรือค าสั่งของศาลฎีกามาก่อน
(๔) เมื่อค าพิพากษาหรือค าสั่งของศาลอุทธรณ์ขัดกับค าพิพากษาหรือค าสั่งอันถึงที่สุดของศาลอื่น
(๕) เพื่อเป็นการพัฒนาการตีความกฎหมาย
(๖) ปัญหาส าคัญอื่นตามข้อก าหนดของประธานศาลฎีกา
หากเหตุผลที่ใช้ประกอบในการยื่นค าร้องขออนุญาตฎีกาไม่เข้าองค์ประกอบตาม (๑ ) ถึง (๖) ข้อใดข้อหนึ่งแล้ว
ย่อมจะไม่ได้รับอนุญาตให้ยื่นฎีกา และเหตุผลตามปัญหาส าคัญ (๑) ถึง (๖) ก็เป็นเรื่องยากที่จะใช้อางในค าร้อง
้
ขออนุญาตยื่นฎีกาเพอโต้แย้งค าพพากษาศาลอทธรณ์ว่าเป็นค าพพากษาที่ขัดต่อข้อใดข้อหนึ่งของ (๑) ถึง (๖)
ิ
ุ
ื่
ิ
ดังนั้น การก าหนดให้การพจารณาค าร้องขออนุญาตฎีกาเป็นระบบอนุญาตที่ศาลฎีกาต้องใช้ดุลพนิจในการ
ิ
ิ
อนุญาต โดยไม่ได้บัญญัติหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขในกฎหมายไว้อย่างชัดเจนแน่นอน ท าให้ประชาชนไม่สามารถ
รับทราบและศึกษาหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขในการอนุญาตฎีกาล่วงหน้าก่อนที่จะมีคดีความขึ้นสู่ศาล จึงอาจ
ิ
กระทบต่อสิทธิของคู่ความในการยื่นฎีกาและเกิดความไม่เป็นธรรมในการสู้คดี อกทั้งมีข้อควรพจารณาว่า
ี