Page 308 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 308
๒๙๕
ธรรมชาติ ( Natural Law ) และขัดต่อหลักของความเป็นมนุษย์ของคน ( Human Beings ) เพราะคู่ความที่จะ
ขออนุญาตฎีกาเป็นประชาชน ไม่ใช่เป็นพหูสูตหรือเป็นผู้รอบรู้ปัญหาทุกด้าน ประชาชนไม่ใช่เป็น
ื่
ผู้บังคับใช้กฎหมาย แต่เป็นผู้ถูกกฎหมายบังคับใช้ การจะขออนุญาตฎีกาคดีก็เพอขอความยุติธรรมในปัญหา
ิ
ิ
ข้อพพาทในคดีของตนเท่านั้น ประชาชนไม่อาจรู้ได้ว่าปัญหาข้อพพาทในคดีของตนนั้นจะเป็นปัญหาเกี่ยวกับ
ประโยชน์สาธารณะหรือเป็นปัญหาเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชนหรือไม่ อย่างไร หรือคดีของตน
จะเป็นการพัฒนาการตีความกฎหมายอย่างไร ซึ่งประชาชนผู้ฎีกาคดีไม่สามารถยกประเด็นปัญหาที่ศาลฎีกาจะ
อนุญาตให้ฎีกาได้ขึ้นมากล่าวอ้างในฎีกา หรือในค าร้องขออนุญาตให้ฎีกาได้ เพราะข้อกฎหมายที่ศาลจะอนุญาต
ให้ฎีกาคดีได้นั้นเป็นปัญหาในทางสังคมเกี่ยวกับประโยชน์สาธารณะ เกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน
ซึ่งปัญหาดังกล่าวเป็นปัญหาที่ศาลฎีกาจะหยิบยกขึ้นมาพิจารณาวินิจฉัยคดีได้เอง โดยคู่ความไม่ต้องน ามากล่าว
อ้างเป็นข้อฎีกา และไม่ใช่เป็นข้อที่คความจะต้องฎีกาเพื่อขอความยุติธรรมจากศาลเพื่อแกไขปัญหาข้อพิพาทซึ่ง
ู่
้
เป็นเรื่องสิทธิและหน้าที่ระหว่างบุคคลได้
๖
๔. การแก้ไขกฎหมายเปลี่ยนแปลงระบบการฎีกาจากระบบสิทธิเป็นระบบอนุญาตเป็นการจ ากัด
สิทธิของประชาชน ขัดต่อหลักความเสมอภาค เสรีภาพของประชาชน ขัดต่อหลักนิติธรรม และขัดต่อ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ซึ่ง
มาตรา ๒๖ บัญญัติว่า “การตรากฎหมายที่มีผลเป็นการจ ากัดสิทธิหรือเสรีภาพของบุคคลต้อง
เป็นไปตามเงื่อนไขที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ ในกรณีที่รัฐธรรมนูญมิได้บัญญัติเงื่อนไขไว้ กฎหมายดังกล่าวต้อง
ิ่
ไม่ขัดต่อหลักนิติธรรม ไม่เพมภาระหรือจ ากัดสิทธิหรือเสรีภาพของบุคคลเกินสมควรแก่เหตุและจะกระทบต่อ
ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของบุคคลมิได้ รวมทั้งต้องระบุเหตุผลความจ าเป็นในการจ ากัดสิทธิ และเสรีภาพไว้ด้วย
กฎหมายตามวรรคหนึ่ง ต้องมีผลใช้บังคับเป็นการทั่วไป ไม่มุ่งหมายให้ใช้บังคับแก่กรณีใด กรณี
หนึ่งหรือแก่บุคคลใดบุคคลหนึ่งเป็นการเจาะจง”
ิ
๕. การจ ากัดให้คดีถึงที่สุดในศาลอทธรณ์อาจท าให้ขาดความรอบคอบในการพจารณาพพากษาคดี
ุ
ิ
ิ
ทั้งนี้ผู้พพากษาศาลอุทธรณ์นั้นย่อมขาดประสบการณ์ไม่อาจเทียบเท่าผู้พพากษาศาลฎีกาได้ ผู้พพากษาศาลฎีกา
ิ
ิ
เป็นผู้มีประสบการณ์และความช านาญมากกว่าผู้พพากษาศาลชั้นต้นและศาลอทธรณ์ทั้งในแง่ความรู้ความ
ิ
ุ
เชี่ยวชาญและประสบการณ์ ซึ่งการวินิจฉัยข้อเท็จจริงให้ถูกต้องนั้นนอกจากความรู้ในทางตัวบทกฎหมายแล้ว
ยังจ าเป็นต้องอาศัยประสบการณ์ซึ่งเป็นเรื่องเฉพาะตัวบุคคลอนเกิดจากการสร้างสมและการฝึกอบรมมาเป็น
ั
ระยะเวลานานประกอบด้วย เพราะการใช้ดุลพินิจในการชั่งน้ าหนักพยานหลักฐานเกี่ยวกับปัญหาข้อเท็จจริงนั้น
เป็นอานาจโดยแท้ของศาล ด้วยเหตุที่ไม่มีกฎหมายบัญญัติก าหนดไว้ชัดเจนแน่นอนดังเช่นปัญหาข้อกฎหมาย
ดังนั้น การให้ผู้พพากษาศาลสูงได้วินิจฉัยในปัญหาข้อเท็จจริงหรือปัญหาข้อกฎหมายอกครั้งหนึ่งย่อมเป็น
ี
ิ
หลักประกันที่ดีของคู่ความที่จะได้รับความเป็นธรรมอย่างแท้จริง
_____________________
๖ ยินดี วัชรพงศ์ ต่อสุวรรณ.การลิดรอนสิทธิในความยุติธรรม(ออนไลน์) ๒๕๖๔ แหล่งที่มา : https://mgronline.
com/politics/detail/9640000011915