Page 451 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 451

๔๓๙

                 และคดีอาญามีวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกันด้วย จึงเห็นสมควรศึกษาว่าในปัจจุบันกฎหมายได้วางหลักเกณฑ์

                 เกี่ยวกับการใช้สิทธิของผู้เสียหายไว้อย่างไร  มีข้อขัดข้องหรือไม่สะดวกหรือไม่  หากปรากฏเหตุขัดข้องจะมี
                 แนวทางปรับปรุงแก้ไขกฎหมายในส่วนที่เกี่ยวข้องอย่างไร


                                                       ่
                        ส าหรับการด าเนินคดีเช็คในส่วนแพงและอาญา  แม้ว่าจะเป็นการด าเนินคดีที่แยกต่างหากจากกัน
                 แต่ผลของคดีควรไปในทิศทางเดียวกัน  จึงเห็นสมควรศึกษาว่าในปัจจุบันกฎหมายได้วางหลักเกณฑ์เกี่ยวกับ

                        ี
                                                                                            ี
                 รายละเอยดขั้นตอนและวิธีการในการด าเนินคดีไว้อย่างไร  มีความเกี่ยวข้องเชื่อมโยงกันเพยงใด  นอกจากนั้น
                 มีข้อที่ควรค านึงถึงและปฏิบัติอย่างไรบ้าง  เพื่อให้การด าเนินคดีเป็นไปตามกฎหมายและเป็นประโยชน์แก่ทุกฝ่าย

                                                                                                    ี
                        จากการศึกษา จะท าให้ทราบถึงหลักเกณฑ์ของกฎหมายในปัจจุบันว่ามีความทันสมัยเพยงพอกับ
                                                       ิ่
                 การด าเนินคดีในสถานการณ์ที่คดีมีแนวโน้มเพมมากขึ้นหรือไม่  กับทั้งสามารถปรับใช้ได้ตรงตามความต้องการ
                 ของคู่ความและบุคคลที่เกี่ยวข้องหรือไม่  เพื่อที่จะได้หาแนวทางปรับปรุงแก้ไขอย่างเหมาะสมต่อไป


                 ทบทวนหลักกฎหมาย


                                                                    ิ
                         จากการศึกษากฎหมาย หนังสือกฎหมาย และค าพพากษาศาลฎีกา พบว่ามีหลักกฎหมายส าคัญที่
                 เกี่ยวข้องกับการด าเนินคดีเช็ค  ดังนี้

                        ๑.  ความหมายและรูปแบบของเช็ค


                        ในทางแพง  ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย์ บรรพ ๓ เอกเทศสัญญา ลักษณะ ๒๑ ตั๋วเงิน มาตรา
                                ่
                                                    ่
                 ๘๙๘ ถึงมาตรา ๑๐๑๑  ได้วางหลักเกณฑ์เกี่ยวกับตั๋วเงินไว้  โดยที่เช็คเป็นตั๋วเงินชนิดหนึ่ง  มีการก าหนด

                 บทบัญญัติเฉพาะเกี่ยวกับเช็คโดยก าหนดรูปแบบเงื่อนไขและวิธีการในการออกเช็คกับทั้งกาหนดสิทธิและหน้าที่
                                 1
                 ของบุคคลต่าง ๆ ไว้

                                          ่
                        ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย์  มาตรา ๙๘๗  ให้ความหมายเกี่ยวกับเช็คไว้ว่า  เช็คคือตราสาร
                                                                                          ี
                 ซึ่งบุคคลหนึ่งเรียกว่าผู้สั่งจ่ายสั่งธนาคารให้ใช้เงินจ านวนหนึ่งเมื่อทวงถามให้แก่บุคคลอกคนหนึ่ง หรือให้ใช้
                 ตามค าสั่งของบุคคลอีกคนหนึ่งอันเรียกว่าผู้รับเงิน

                        นอกจากนั้น  ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย์  มาตรา ๙๘๘  ก าหนดรูปแบบของเช็คไว้ว่าต้องมี
                                                      ่
                 รายการดังนี้

                        ๑)  ค าบอกชื่อว่าเป็นเช็ค
                        ๒)  ค าสั่งอันปราศจากเงื่อนไขให้ใช้เงินเป็นจ านวนแน่นอน



                                                            ิ
                        1  ประทีป เฉลิมภัทรกุล, ค าอธิบายกฎหมายตั๋วเงน บัญชเดินสะพัด, พิมพ์ครั้งที่ ๑๑, (กรุงเทพ : บริษัทธนอรุณการ
                                                                 ี
                 พิมพ์ จ ากัด, ๒๕๖๓), หน้า ๒๖๐.
   446   447   448   449   450   451   452   453   454   455   456