Page 454 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 454

๔๔๒

                                                 ้
                        ดังนั้น หากเป็นกรณีที่มีการฟองบังคับให้มีการช าระเงินตามเช็คโดยจ านวนเงินในเช็คแต่ละฉบับ
                                                                                                    ้
                 หรือหลายฉบับรวมกันไม่เกินสามแสนบาท จะต้องฟองคดีต่อศาลแขวง แต่หากเป็นกรณีที่มีการฟองบังคับ
                                                             ้
                 ให้มีการช าระเงินตามเช็คโดยจ านวนเงินในเช็คแต่ละฉบับหรือหลายฉบับรวมกันเกินกว่าสามแสนบาท จะต้อง
                 ฟ้องคดีต่อศาลจังหวัด

                        อย่างไรก็ตาม มีบทบัญญัติแห่งกฎหมายก าหนดให้สามารถฟองคดีแพงเรียกเงินตามเช็คต่อศาลที่
                                                                                    ่
                                                                            ้
                 พิจารณาคดีอาญาได้ในบางกรณีซึ่งจะได้กล่าวต่อไป

                        ๔.  แนวคิดเกี่ยวกับเช็คในคดีอาญา

                        การก าหนดความรับผิดทางอาญาเกี่ยวกับการใช้เช็ค ในแต่ละประเทศมีแนวคิดที่แตกต่างกัน โดยใน

                 บางประเทศไม่ก าหนดเป็นความผิดทางอาญา ส่วนประเทศที่ก าหนดเป็นความผิดทางอาญาก็วางหลักเกณฑ์
                 เงื่อนไของค์ประกอบความผิดที่แตกต่างกัน

                        ส าหรับในประเทศไทย เช็คเป็นตราสารทางการเงินที่เปลี่ยนมือได้และถูกใช้อย่างแพร่หลายในทางธุรกิจ

                                                                  ื่
                 การค้า เพื่อให้เช็คมีความน่าเชื่อถือ จึงมีการออกกฎหมายเพอควบคุมการสั่งจ่ายและใช้เช็คให้เป็นไปโดยสุจริต
                 และก าหนดความผิดและโทษส าหรับผู้ใช้เช็คที่มีพฤติการณ์ไม่สุจริต

                        พระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ.๒๕๓๔  มาตรา ๔  วางหลักเกณฑ์ว่า
                                    ื่
                        ผู้ใดออกเช็คเพอช าระหนี้ที่มีอยู่จริงและบังคับได้ตามกฎหมายโดยมีลักษณะหรือมีการกระท าอย่างหนึ่ง
                 อย่างใดต่อไปนี้
                        (๑)  เจตนาที่จะไม่ให้มีการใช้เงินตามเช็คนั้น

                        (๒)  ในขณะที่ออกเช็คนั้นไม่มีเงินอยู่ในบัญชีอันจะพึงให้ใช้เงินได้

                        (๓)  ให้ใช้เงินมีจ านวนสูงกว่าจ านวนเงินที่มีอยู่ในบัญชีอันจะพึงให้ใช้เงินได้ในขณะที่ออกเช็คนั้น
                        (๔)  ถอนเงินทั้งหมดหรือแต่บางส่วนออกจากบัญชีอนจะพงให้ใช้เงินตามเช็คจนจ านวนเงินเหลือ
                                                                           ึ
                                                                     ั
                 ไม่เพยงพอที่จะใช้เงินตามเช็คนั้นได้เช็คนั้นได้
                     ี
                        (๕)  ห้ามธนาคารมิให้ใช้เงินตามเช็คนั้นโดยเจตนาทุจริต
                        เมื่อได้มีการยื่นเช็คเพอให้ใช้เงินโดยชอบด้วยกฎหมาย ถ้าธนาคารปฏิเสธไม่ใช้เงินตามเช็คนั้น ผู้ออกเช็ค
                                         ื่
                 มีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกินหกหมื่นบาท  หรือจ าคุกไม่เกินหนึ่งปี  หรือทั้งปรับทั้งจ า

                        หลักการส าคัญของความผิดดังกล่าวคือ จะต้องเป็นการออกเช็คเพอช าระหนี้ที่มีอยู่จริงและบังคับได้
                                                                                ื่
                 ตามกฎหมาย หมายถึง ในเวลาขณะออกเช็คจะต้องมีมูลหนี้อนสมบูรณ์และชอบด้วยกฎหมายผูกพนกันอยู่ก่อนแล้ว
                                                                 ั
                                                                                              ั
                                ื่
                                                                  ั
                 เช่น สั่งจ่ายเช็คเพอช าระหนี้ตามมูลหนี้ซื้อขายหรือกู้ยืมอนเป็นหนี้ที่สมบูรณ์โดยมีหลักฐานตามที่กฎหมาย
                 ก าหนดการกระท าดังกล่าวจะเป็นความผิดส าเร็จเมื่อธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงินตามเช็ค
   449   450   451   452   453   454   455   456   457   458   459