Page 468 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 468

๔๕๖


                 Rehabilitation is a diverted process from normal criminal proceedings and adopts special

                 measures in place of criminal prosecution by requiring convicted narcotic addicts, according

                 to the types of cases and rules prescribed by law, to undergo rehabilitation treatment. If
                 the results of narcotic addict rehabilitation are satisfactory, it shall be deemed that such

                 narcotic addicts be acquitted from the alleged offenses. However, if it appears that the
                 narcotic addicts under rehabilitation are alleged or prosecuted for the commission of

                 another offences, even without any injured person, the narcotic addicts shall not be able

                 to receive rehabilitation under Rehabilitation of Narcotic Addict Act, B.E. 2545 (2002), such
                 as, the offense of driving while consumed narcotics. When such cases enter the court

                 proceedings, judges would often use their discretion to consider punishments according to

                 the court's standard ruling procedures. The considerations would base on the number of
                 times the offense has been committed or the type of vehicle regardless of whether narcotic

                 addicts are patients who should undergo rehabilitation measures. The punishment for the
                 offenders  should  be  considered  on  an  individual  basis,  whether  the  offenders  regret

                 committing the crime and would not try to recommit the crime in the future and whether

                 or not offenders can be treated by narcotic addict rehabilitation measures before imposing
                 imprisonment punishment on the offenders.

                 Keywords: consume, narcotic addiction, narcotic addict treatment and rehabilitation


                 ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา


                            ปัญหาการเสพยาเสพติดเป็นปัญหาส าคัญของประเทศไทยมายาวนาน แม้หน่วยงานที่เกี่ยว
                 ข้องจะออกมาท าหน้าที่ป้องกัน ปราบปราม แต่ก็ยังไม่สามารถที่จะยุติปัญหาตรงนี้ไปได้ นับวันปัญหาการ


                 เสพยาเสพติดจะทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้นระบาดไปทั่วทุกพนที่ของประเทศ มีผู้เสพทุกเพศ ทุกวัย และ
                                                                   ื้
                 หลายอาชีพ ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ ร่างกาย และจิตใจของผู้เสพยาเสพติด กลายเป็นบุคคลที่ด้อยคุณภาพ


                                                 ื่
                                                            ี
                 ทั้งเป็นสาเหตุหนึ่งที่ก่อให้เกิดปัญหาอนๆ ตามมาอก เช่น ปัญหาครอบครัว ปัญหาอาชญากรรม ส่งผล
                                               ื่
                 กระทบต่อชีวิตและทรัพย์สินของผู้อน ท าให้รัฐบาลต้องก าหนดแนวทาง เป้าหมายที่จะช่วยแก้ปัญหาของ
                 ผู้เสพยาเสพติดด้วยการด ารงสภาพไม่ให้เป็นผู้ผลิตและผู้ขาย ตลอดจนให้การช่วยเหลือผู้ที่เลิกยาเสพติด

                 ให้กลับมาใช้ชีวิตได้อย่างปกติสุขโดยถือหลักว่า ผู้เสพยาเสพติด คือ ผู้ป่วย ซึ่งหลักการดังกล่าวปรากฏ

                 ในเหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฟนฟสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๔๕ ที่ระบุว่า “โดยที่
                                                      ื้
                                                         ู
                 ปัญหาเกี่ยวกับยาเสพติดให้โทษในปัจจุบันมีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น ซึ่งโดยหลักการแล้วผู้เสพยาเสพติด

                 มีสภาพเป็นผู้ป่วยอย่างหนึ่งมิใช่อาชญากรปกติ การฟื้นฟูสมรรถภาพของผู้ติดยาเสพติดจึงสมควรกระท าให้
   463   464   465   466   467   468   469   470   471   472   473