Page 473 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 473

๔๖๑


                                                                            ั
                            ถ้าการกระท าความผิดตามวรรคสองเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอนตรายแก่กายหรือจิตใจ ผู้กระท า
                                                                                                     ั
                 ต้องระวางโทษจ าคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงห้าปี และปรับตั้งแต่สองหมื่นบาทถึงหนึ่งแสนบาท และให้ศาลสั่งพกใช้
                 ใบอนุญาตขับขี่ของผู้นั้นมีก าหนดไม่น้อยกว่าหนึ่งปี หรือเพิกถอนใบอนุญาตขับขี่
                            ถ้าการกระท าความผิดตามวรรคสองเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัส ผู้กระท าต้องระวาง

                 โทษจ าคุกตั้งแต่สองปีถึงหกปี และปรับตั้งแต่สี่หมื่นบาทถึงหนึ่งแสนสองหมื่นบาท และให้ศาลสั่งพก
                                                                                                       ั
                 ใช้ใบอนุญาตขับขี่ของผู้นั้นมีก าหนดไม่น้อยกว่าสองปี หรือเพิกถอนใบอนุญาตขับขี่

                            ถ้าการกระท าความผิดตามวรรคสองเป็นเหตุให้ผู้อนถึงแก่ความตาย ผู้กระท าต้องระวางโทษ
                                                                      ื่
                                                                                          ิ
                 จ าคุกตั้งแต่สามปีถึงสิบปี และปรับตั้งแต่หกหมื่นบาทถึงสองแสนบาท และให้ศาลสั่งเพกถอนใบอนุญาต
                     ี่
                 ขับข”
                            ทั้งนี้มี ข้อก าหนดกรมต ารวจ (ปัจจุบันเปลี่ยนเป็นส านักงานต ารวจแห่งชาติ) เรื่อง ก าหนดชื่อ

                 และประเภทของวัตถุทออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทและประเภทของรถที่ใช้เจ้าพนักงานมีอ านาจตรวจสอบ
                                    ี่

                 ผู้ขับขี่ ก าหนดไว้ว่า “อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๔๓ ทวิ วรรคหนึ่งและวรรคสอง แห่ง
                                                            ิ่
                 พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ แก้ไขเพมเติมโดยมาตรา ๘ แห่งพระราชบัญญัติจราจรทางบก
                 (ฉบับที่ ๔) พ.ศ.๒๕๓๕ อธิบดีกรมต ารวจก าหนดชื่อและประเภทของวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท ซึ่ง

                 ห้ามมิให้ผู้ขับขี่เสพหรือรับเข้าร่างกายและประเภทของรถที่ให้เจ้าพนักงานจราจร พนักงานสอบสวน หรือ


                 พนักงานเจ้าหน้าที่ มีอานาจจัดให้มีการตรวจสอบผู้ขับขี่ว่าได้เสพหรือรับเข้าร่างกายซึ่งวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อ
                 จิตและประสาทหรือไม่ ไว้ดังต่อไปนี้

                              ข้อ ๑ ห้ามมิให้ผู้ขับขี่เสพหรือรับเข้าร่างกายไม่ว่าด้วยวิธีใด ๆ ซึ่งวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและ
                 ประสาท ดังต่อไปนี้

                              (๑) แอมเฟตามีน (amphetamine) ซึ่งมีชื่อทางเคมีว่า (+) -๒- amino -๑- phenylpropane

                              (๒) เมทแอมเฟตามีน (methamphetamine) ซึ่งมีชื่อทางเคมีว่า (+)-๒ - methylamion
                 - ๑ –phenylpropane

                              ข้อ ๒ ให้เจ้าพนักงานจราจร พนักงานสอบสวน หรือพนักงานเจ้าหน้าที่มีอ านาจจัดให้มีการ

                 ตรวจสอบผู้ขับขี่รถดังต่อไปนี้ ว่าได้เสพหรือรับเข้าร่างกายซึ่งวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทตามข้อ ๑
                 หรือไม่

                              (๑) รถยนต์สาธารณะและรถยนต์บริการตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์

                              (๒) รถตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก
                              ทั้งนี้ ตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป”

                            เดิมแอมเฟตามีนและเมทแอมเฟตามีนเป็นวัตถุออกฤทธิ์ในประเภท ๒ ตามพระราชบัญญัติ
                 วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. ๒๕๑๘ ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๓๙ ได้มีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงการ

                                                                                        ั
                 ควบคุมโดยประกาศให้แอมเฟตามีน เมทแอมเฟตามีน เด็กซ์แอมเฟตามีนและอนุพนธุ์ เป็นยาเสพติด
   468   469   470   471   472   473   474   475   476   477   478