Page 474 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 474

๔๖๒


                                  ๕
                 ให้โทษในประเภท ๑  ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ โดยมาตรา ๕๗ บัญญัติว่า “ห้าม
                 มิให้ผู้ใดเสพยาเสพติดให้โทษในประเภท ๑”

                                                                           ั
                              มาตรา ๙๑ “ผู้ใดเสพยาเสพติดให้โทษในประเภท ๑ อนเป็นการฝ่าฝืนมาตรา ๕๗ หรือยา
                 เสพติดให้โทษในประเภท ๒ อันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา ๕๘ ต้องระวางโทษจ าคุกตั้งแต่หกเดือนถึงสามปี หรือ

                 ปรับตั้งแต่หนึ่งหมื่นบาทถึงหกหมื่นบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ”
                            ดังนั้น เมื่อผู้เสพแอมเฟตามีนหรือเมทแอมเฟตามีนแล้วไปขับขี่รถนอกจากจะเป็นความผิด

                 ฐานเสพยาเสพติด ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๗ .๙๑ แล้ว ยังเป็น

                 ความผิดฐานเป็นผู้ขับขี่ยาเสพติด ตามพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๓ ทวิ ซึ่งเป็น
                 การกระท ากรรมเดียวกัน โดยผู้เสพยาเสพติดที่ขับขี่รถจะถูกลงโทษตามมาตรา ๑๗๕/๑ ซึ่งเป็นกฎหมาย

                 บทที่หนักสุดที่ก าหนดให้มีระวางโทษสูงกว่าที่ก าหนดไว้ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดอกหนึ่งในสาม
                                                                                             ี
                 เท่ากับคดีฐานเป็นผู้ขับขี่เสพเมทแอมเฟตามีนมีระวางโทษจ าคุกตั้งแต่แปดเดือนถึงสี่ปี ส่วนผู้เสพยาเสพติด
                         ื่
                                                   ี
                                      ๖
                                     ี
                                                             ื
                 ประเภทอน เช่น เฮโรอน กัญชา มอร์ฟน ฝิ่น หรือพชกระท่อม ในขณะขับรถย่อมไม่มีความผิดฐานเป็น
                 ผู้ขับขี่เสพยาเสพติด พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๓ ทวิ

                 ความเป็นมาของเมทแอมเฟตามีน

                            จากบทความด้านสุขภาพจิต  แอมเฟตามีนมีลักษณะเป็นผงผลึกสีขาว ไม่มีกลิ่น มีรสขมนิดๆ
                                                   ๗
                 มีสูตรทางเคมีคอ C๙H๑๓N เป็นสารที่อยู่ในกลุ่มที่ออกฤทธิ์กระตุ้นระบบประสาทส่วนกลาง ถูกสังเคราะห์
                             ื
                 ขึ้นมาในปี ค.ศ. ๑๘๘๗ โดยนักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมันชื่อ เอเดเลียโน (Edeleno) ในรูปของแอมเฟตามีน
                 ซัลเฟต (Amphetamine Sulphate) ต่อมาในปี ค.ศ. ๑๘๘๘ นักวิทยาศาสตร์ชาวญี่ปุ่นก็สามารถ

                              ั
                                                 ี
                 สังเคราะห์อนุพนธ์ของแอมเฟตามีนได้อกตัวหนึ่งคือ เมทแอมเฟตามีน(Methamphetamine) ซึ่งออกฤทธิ์
                 ต่อระบบประสาทส่วนกลางได้มากกว่า
                            สารเมทแอมเฟตามีน เป็นสารที่ออกฤทธิ์กระตุ้นประสาท เมื่อเสพเข้าสู่ร่างกายจะออกฤทธิ์

                 ท าให้ร่างกายตื่นตัว หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตสูง อณหภูมิร่างกายเพม ประสาทตึงเครียด คลื่นไส้
                                                                ุ
                                                                               ิ่








                        ๕  ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ ๑๓๕ (พ.ศ. ๒๕๓๙) เรื่อง ระบุชื่อและยาเสพติดให้โทษ ตาม
                 พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.๒๕๒๒ (๑๖ สิงหาคม ๒๕๓๙) ราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เล่ม ๑๑๓ ตอน

                 พิเศษ ๒๓ ง หน้า ๘ ถึง๒๖
                        ๖  กองผู้ช่วยผู้พิพากษาศาลฎีกา. (๒๕๖๔). ค าพิพากษาศาลฎีกาที่ ๑๒๑๕๑/๒๕๕๘ (๒๖กรกฎาคม ๒๕๖๔)
                 https://deka.supremecourt.or.th/search

                        ๗  By Mongkol N(๒๕๖๑) เมทแอมเฟตามีน (ออนไลน์) (๒๐กรกฎาคม๒๕๖๔)
                 https://www.dmh.go.th/news/view.asp?id=1214
   469   470   471   472   473   474   475   476   477   478   479