Page 478 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 478
๔๖๖
ปัญหายาเสพติดเป็นเรื่องสุขภาพ เรื่องของระบบสาธารณสุข เรื่องของอาชญากรรม เรื่องของสิทธิมนุษยชน
เรื่องของความยากจน ฯลฯ และให้มีการแก้ไขปัญหายาเสพติด โดยมุ่งเน้นด้านสาธารณสุข เน้นการดูแล
สุขภาพผู้ป่วย นอกจากนี้ ปัญหาอย่างหนึ่งของการบ าบัดรักษา คือ การเข้าถึงระบบบ าบัดรักษา จึงยังได้มี
การขยายแนวคิด การใช้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติด ภายใต้แนวทางการบ าบัด
ื้
ู
ฟนฟผู้ใช้ยาเสพติดโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง (Community Based Treatment and rehabilitation:
ิ่
CBTx) เพอเพมประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการบ าบัดรักษาผู้ป่วยยาเสพติดให้สอดคล้องกับบริบท
ื่
พื้นที่มากขึ้น
ระบบการบ าบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด
ระบบการบ าบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด หมายถึง กระบวนการและขั้นตอน
ในการรักษาผู้ติดยาเสพติดให้หายจากการติดยาเสพติดทั้งทางกายและจิตใจการเข้าสู่ระบบดังกล่าวมี
๓ ระบบ
๑๒
ระบบสมัครใจ คือ การเปิดโอกาสให้ผู้ติดยาเสพติดที่ต้องการเลิกสามารถเข้ารับการบ าบัดใน
สถานพยาบาลต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนโดยไม่ถือว่าเป็นความผิดตามกฎหมาย ซึ่งตามประกาศคณะ
รักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๐๘/๒๕๕๗ ผู้เสพ เสพและมีไว้ในครอบครอง เสพและมีไว้ในครอบครอง
เพอจ าหน่าย หรือเสพและจ าหน่ายซึ่งยาเสพติดให้โทษตามลักษณะ ชนิด ประเภท และปริมาณที่ก าหนด
ื่
ในกฎกระทรวง และได้สมัครใจขอเข้ารับการบ าบัดรักษาในสถานพยาบาลก่อนความผิดจะปรากฏต่อ
ี
พนักงานเจ้าหน้าที่หรือพนักงานฝ่ายปกครองหรือต ารวจอกทั้งได้ปฏิบัติครบถ้วนตามระเบียบข้อบังคับเพื่อ
ควบคุมการบ าบัดรักษา และระเบียบวินัยส าหรับสถานพยาบาลดังกล่าว จนได้รับการรับรองเป็นหนังสือ
้
จากพนักงานเจ้าหน้าที่ที่รัฐมนตรีก าหนดแล้ว ให้พนจากความผิดตามที่กฎหมายบัญญัติไว้ แต่ทั้งนี้ไม่
รวมถึงกรณีความผิดที่ได้กระท าไปภายหลังการสมัครใจเข้ารับการบ าบัดรักษา ตามพระราชบัญญัติยาเสพ
ติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๙๔
ระบบบังคับ คือ การบ าบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดในระบบบังคับบ าบัดด าเนินการภายใต้
พระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดสารเสพติด พ.ศ. ๒๕๔๕ โดยสาระส าคัญของพระราชบัญญัติ คือ เมื่อ
เจ้าหน้าที่จับกุมผู้ต้องหาในฐานความผิด ได้แก่ ข้อหาเสพยาเสพติดให้โทษ เสพและมีไว้ในครอบครอง
ื่
เสพและมีไว้ในครอบครองเพอจ าหน่าย หรือเสพและจ าหน่ายยาเสพติด ตามลักษณะชนิด ประเภท และ
ื่
ิ
ปริมาณที่ก าหนดในกฎกระทรวง ให้พนักงานสอบสวนน าตัวผู้ต้องหาไปศาล เพอให้ศาลพจารณามีค าสั่ง
ส่งตัวผู้ต้องหาไปรับการตรวจพสูจน์การเสพติดหรือการติดยาเสพติด โดยแจ้งให้คณะอนุกรรมการฟนฟ ู
ื้
ิ
๑๒ พรรณณี วาทิสุนทร และ กฤติกา เฉิดโฉม. (๒๕๕๒). การศึกษาเปรียบเทียบผลส าเร็จของการบ าบัดรักษา
ผู้ป่วย ยาเสพติดระบบบังคับบ าบัดและระบบสมัครใจ. กรุงเทพฯ: กลุ่มพัฒนาระบบงานยาเสพติด สานักพัฒนาระบบ
บริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข. (ออนไลน์) (๒๓ กันยายน ๒๕๖๔) https://
nctc.oncb.go.th/manage/researchMgt/import/researchFull/20170301_09340752_success_treatment.pdf