Page 483 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 483
๔๗๑
ื่
Health Care เป็นต้น หรือการติดตามด้วยวิธีอนๆ เช่น การติดตามโดยผ่านบุคคลผู้เกี่ยวข้อง หรือ การ
สื่อสารโดยใช้ เครื่องมือต่างๆ ได้แก่ โทรศัพท์ จดหมาย จดหมายอิเล็กโทรนิค เป็นต้น
(๓) วิเคราะห์ปัญหา และด าเนินการให้ความช่วยเหลือผู้ที่ผ่านการบ าบัดรักษา ตามสภาพ
ปัญหาที่พบ โดยให้การช่วยเหลือเป็นรายบุคคล รายกลุ่ม ตามความเหมาะสม
ื่
(๔) บริหารจัดการทรัพยากรทางสังคม เพอให้บริการดูแลช่วยเหลือ สนับสนุน ส่งเสริมให้ผู้ที่
ผ่านการบ าบัดรักษาสามารถกลับไปด ารงชีวิตในสังคมได้อย่างปกติ ได้แก่ การประสานส่งต่อทางการแพทย์
และสังคม กับหน่วยงานหรือองค์กรภายนอกผู้เกี่ยวข้อง ตลอดจนการประสานเครือข่ายในการส่งต่อผู้ที่
ั
ผ่านการบ าบัดรักษา ไปติดตามและดูแลหลังการรักษาใกล้กับที่พกอาศัย ในกรณีที่ไม่สามารถมาติดตาม
การรักษาที่สถานพยาบาลที่ให้การบ าบัดรักษาได้
สถิติผู้ที่ได้รับการบ าบัดฟื้นฟูสรรถภาพผู้ติดยาเสพติดแล้วกลับมาเสพซ้ า
๑๙
คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด รายงานผลการด าเนินงานด้านการบ าบัด
รักษายาเสพติด ในช่วงระยะเวลา ๙ เดือน (กรกฎาคม ๒๕๖๒ ถึง มีนาคม ๒๕๖๓) ส าหรับด้านการ
ื้
ั
ู
บ าบัดรักษาและฟนฟสมรรถภาพผู้เสพผู้ติดยาเสพติดว่า ได้มีการพฒนาระบบการบ าบัดในโรงพยาบาล
ส่งเสริมสุขภาพต าบล (รพ.สต.) เพื่อเพิ่มศักยภาพในการรับผู้ป่วยยาเสพติดมากขึ้นจ านวน รพ.สต. ๙,๗๖๓
แห่ง มีการบ าบัดฟนฟยาเสพติดโดยใช้ชุมชนเป็นศูนย์กลาง หรือ CBTx เป็นแนวคิดการใช้ชุมชนเข้ามามี
ื้
ู
ส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาผู้เสพยาเสพติด ตั้งแต่กระบวนการค้นหา ชักชวน ดูแลฟนฟช่วยเหลือ และส่ง
ื้
ู
ื้
ู
ต่อผู้ผ่านการบ าบัดกลับคืนสู่สังคม ซึ่งปัจจุบันมีสถานที่ฟนฟในชุมชนที่มีความพร้อม ๗๒๐ แห่ง ใน ๗๗
จังหวัด มีการน าผู้เสพเข้ารับการบ าบัดยาเสพติดในทุกระบบ (สมัครใจ บังคับบ าบัด และต้องโทษ)
๑๔๗,๓๗๗ คน จากจ านวนผู้เข้าบ าบัดดังกล่าว มีผู้กลับไปบ าบัดซ้ า ๙,๑๔๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๖.๒๐ เมื่อ
ปี ๒๕๕๗ ถึงปี ๒๕๖๒ มีการขยายการด าเนินงานด้านคลินิกสังคมในศาล ๕ แห่ง ได้แก่ ศาลอาญาธนบุรี
ศาลจังหวัดนนทบุรี ศาลจังหวัดเชียงใหม่ ศาลอาญาตลิ่งชัน และศาลจังหวัดนนทบุรี มีผู้เข้ารับค าปรึกษา
๑๔,๕๙๗ คน มีการกระท าความผิดซ้ า ๑๙๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๑.๓๔ และจะขยายการด าเนินงานคลินิก
ให้ค าปรึกษาด้านจิตสังคมในระบบศาล จ านวน ๗๕ แห่ง ภายใน ๓ ปี (พ.ศ.๒๕๖๓ ถึง พ.ศ.๒๕๖๕)
การใช้ดุลพินิจในการลงโทษผู้กระท าความผิด
้
การใช้ดุลพนิจในการลงโทษ หมายถึง การวินิจฉัยว่าจ าเลยกระท าความผิดตามฟองหรือไม่
ิ
ั
ถ้ากระท าความผิดควรลงโทษมากน้อยเพยงใด ซึ่งเป็นหน้าที่อนส าคัญของผู้พพากษาหลักเกณฑ์การใช้
ิ
ี
ดุลพินิจในการลงโทษ
๒๐
๑๙ มติชนออนไลน์ ๒๑ เมษายน ๒๕๖๓ ป.ป.ส. เผยสถิติ ห้วง ๙ เดือน ผู้เสพบ าบัด ๑๔๗,๓๗๗ คน (ออนไลน์)
(๒๓ กรกฎาคม ๒๕๖๔) https://www.matichon.co.th/local/crime/news_2150234
๒๐ วิทยาลัยการยุติธรรม ส านักงานศาลยุติธรรม.(๒๕๕๒).การใช้ดุลพินิจในการลงโทษผู้กระท าผิดในประเทศไทย