Page 486 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 486
๔๗๔
ง่ายหรือไม่ ความรู้สึกของผู้กระท าความผิดมีประการใดต่อผลที่เกิดขึ้น เกี่ยวกับโรคภัยไข้เจ็บของผู้กระท า
ิ
ความผิดอาจเป็นมูลฐานให้กระท าความผิดขึ้นได้ ควรเป็นข้อที่ต้องหยิบยกขึ้นพจารณาเพอลงโทษ พร้อม
ื่
กันนั้นควรจะพจารณาถึงวัตถุประสงค์ของกฎหมายประกอบด้วย เช่น กฎหมายไม่ลงโทษคนวิกลจริต หรือ
ิ
ลงโทษสถานเบาแก่เด็ก เป็นต้น การก าหนดโทษจึงควรให้เหมาะสมกับบุคลิกลักษณะของผู้กระท าความผิด
จึงควรต้องรู้ถึงบุคลิกลักษณะของผู้กระท าความผิดแต่ละบุคคล การก าหนดโทษเช่นนี้นับว่าเป็นภาระแก่
ผู้พิพากษาอยู่มากเพราะไม่ได้อยู่ใกล้ชิดกับตัวผู้กระท าความผิด ได้แต่พจารณาจากถ้อยค าส านวนประกอบ
ิ
กับบุคลิกลักษณะและอากัปกิริยาของผู้กระท าความผิดที่อยู่ต่อหน้าเป็นใหญ่ ลักษณะของผู้ถูกทาร้าย ผู้ถูก
ท าร้ายเป็นคนชนิดใด เป็นผู้หญิงหรือผู้ชาย เป็นเด็กหรือผู้ใหญ่ ย่อมมีความส าคัญเหมือนกัน เช่นการข่มเหง
หรือท าร้ายผู้หญิง เด็ก หรือคนทุพพลภาพ ย่อมท าได้ง่ายกว่าผู้ชายธรรมดา ควรลงโทษผู้กระท าความผิด
ั
ต่อบุคคลเหล่านี้ให้พอที่จะเป็นบทเรียนจึงจะไม่ข่มเหงคนออนแอกว่าซึ่งไม่สามารถต่อสู้ป้องกนตัวได้ ความ
่
ทุกขเวทนาและความเสียหายของผู้ถูกท าร้ายจากการกระท าความผิดก็ควรเป็นดุลพินิจในการวางโทษมาก
ื่
น้อยตามความร้ายแรงที่ผู้ถูกท าร้ายได้รับอันเป็นผลจากการกระท าความผิด เช่น ในคดีฆ่าผู้อนที่มีลักษณะ
พเศษตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา ๒๘๙ กฎหมายบัญญัติให้ลงโทษผู้กระท าความผิดมาก กว่า
ิ
ก าหนดโทษที่จะลงแก่ผู้กระท าความผิดฐานฆ่าผู้อื่นตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๘๘ แต่ในคดีใดที่
ไม่เข้าเกณฑ์ดังที่กฎหมายบัญญัติไว้เป็นพเศษก็ควรใช้ดุลพนิจก าหนดโทษให้เข้ากับแนวที่กฎหมายบัญญัติ
ิ
ิ
ไว้จะได้ต้องตรงตามความประสงค์ของกฎหมายประโยชน์ของรัฐหรือสาธารณชน กฎหมายอาญาเป็น
บทบัญญัติที่ก าหนดไว้เพอความสงบเรียบร้อยของรัฐ หรือนัยหนึ่งก็เพอประโยชน์ของสาธารณชน ความ
ื่
ื่
ประสงค์หรือหัวใจของกฎหมายอาญามีเช่นนี้ ฉะนั้น จึงควรก าหนดโทษผู้กระท าความผิดให้เหมาะสมกับ
ความประสงค์ของกฎหมายและเพื่อให้เป็นไปเช่นนั้นจึงควรค านึงถึง
(๑) สถานที่กระท าความผิด เกี่ยวกับสถานที่กระท าความผิดบางกรณีมีกฎหมายก าหนดโทษ
เป็นพิเศษ เช่น ลักทรัพย์ในเคหสถานโทษหนักกว่าลักทรัพย์ธรรมดา ส าหรับกรณีที่กฎหมายไม่ได้บัญญัติไว้
เป็นพเศษ ก็ควรวางเกณฑ์กว่ากรณีธรรมดา เช่น กระท าความผิดในศาล ควรก าหนดโทษให้หนักกว่าการ
ิ
กระท าความผิดในสถานที่แห่งอน กรณีที่การกระท าความผิดใดมีมากในท้องที่ใดซึ่งเป็นท้องที่ที่มีการ
ื่
กระท าความผิดเกิดขึ้นบ่อยๆ ย่อมท าให้ประชาชนรู้สึกหวาดกลัวไม่อยากเข้าไปซึ่งท าให้เกิดความเสียหาย
ื่
อย่างมากแก่รัฐบาล ก็ควรวางโทษก าหนดไว้ส าหรับความผิดนั้นในท้องที่นั้นให้หนักเพอจะได้เป็นตัวอย่าง
แก่จ าเลยหรือผู้ที่กระท าความผิดอื่น
(๒) เวลากระท าความผิด เกี่ยวกับเวลากระท าความผิดในบางกรณีกฎหมายก าหนดไว้เป็น
พิเศษเช่นเดียวกับสถานที่กระท าความผิด เช่น ลักทรัพย์ในเวลากลางคืนจะมีโทษหนักกว่าลักทรัพย์ในเวลา
ธรรมดา ส าหรับการกระท าความผิดบางอย่างนอกจากที่กฎหมายก าหนดควรใช้ดุลพนิจก าหนดโทษเกี่ยว
ิ
กับเวลากระท าความผิดไว้ด้วย เช่น การท าร้ายร่างกายต่อหน้าสาธารณชนในเวลากลางวันย่อมเป็นการ
แสดงถึงความอุกอาจของการกระท าความผิด การก าหนดโทษย่อมต้องหนักกว่าที่กระทาตามธรรมดา
(๓) ผลของการกระท าความผิด มีผลร้ายประการใด ผลร้ายนั้นต้องแยกพจารณาว่ามีความ
ิ
ี
ร้ายแรงมากเพยงใด เช่น ลักทรัพย์ ๑,๐๐๐ บาท ย่อมมีความรุนแรงแตกต่างกับการลักทรัพย์เป็นจ านวน