Page 484 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 484
๔๗๒
๑) ต้องมีเหตุผลและเป็นไปตามกฎหมาย (Reasoning) ผู้ใช้ดุลพนิจหรือผู้มีอานาจตาม
ิ
ิ
กฎหมายจะต้องใช้ดุลพนิจนั้นอย่างมีเหตุผลพอเหมาะพอควรแก่กรณี แม้ว่ากฎหมายให้เลือกได้ว่าจะรอ
การลงโทษหรือไม่รอการลงโทษก็อยู่ที่ศาลจะเห็นสมควร จะก าหนดโทษหนักหรือโทษเบาอย่างไรก็อยู่ที่
ศาลเห็นสมควร แต่การใช้ดุลพนิจอย่างนั้นจะเป็นไปตามอาเภอใจของศาลหรือของผู้พพากษาไม่ได้ ต้องมี
ิ
ิ
เหตุผลมีหลักเกณฑ์อธิบายได้ในการใช้ดุลพินิจแต่ละครั้ง ส่วนการใช้ดุลพินิจอย่างไรจึงจะไม่อยู่ในลักษณะที่
เป็นเรื่องของการท าตามอาเภอใจนั้น จะต้องใช้โดยมีมูลเหตุจูงใจที่ถูกต้องเมื่อศาลใช้ดุลพินิจโดยมูลเหตุจูง
ใจที่ผิดไปจากที่กฎหมายประสงค์หรือต้องการ หรือมีมูลเหตุจูงใจในการใช้ดุลพินิจไปในทิศทางที่ไม่ได้อยู่ใน
วัตถุประสงค์ของกฎหมายเรื่องนั้นเลย การใช้ดุลพินิจอย่างนั้นไม่ชอบ
๒) หลักความสอดคล้อง (Consistency) หมายถึง เรื่องของความสอดคล้องต้องกันของการ
ใช้ดุลพนิจในเรื่องเดียวกัน ต้องมีความมั่นคงไม่เปลี่ยนไปเปลี่ยนมา ฝ่ายตุลาการเองเป็นผู้วางหลักเกณฑ์
ิ
เอาไว้ว่าการใช้ดุลพนิจในเรื่องเดียวกันที่ไม่มีอะไรผิดแผกแตกต่างกันนั้น ควรจะต้องเป็นไปในทิศทาง
ิ
ี
ิ
ิ
เดียวกัน ไม่ใช่วันนี้ใช้ดุลพนิจในเรื่องนี้ไปทางหนึ่ง วันรุ่งขึ้นใช้ดุลพนิจในเรื่องเดียวกันนี้ไปอกทางหนึ่ง เอา
หลักเอาเกณฑ์ไม่ได้ ลักษณะอย่างนี้จะเป็นการใช้ดุลพินิจแบบอาเภอใจ ไม่ใช่การใช้ดุลพนิจที่ชอบ ดุลพินิจ
ิ
ในทางตุลาการในทุกเรื่องจ าเป็นต้องอยู่ในกรอบของความเป็นเอกภาพ ไม่ลักลั่น และต้องค านึงถึงแนว
บรรทัดฐานของศาลเองในกรณีเดียวกันนั้นด้วย ไม่ว่าจะเป็นบรรทัดฐานของศาลฎีกา ศาลอุทธรณ์ หรือของ
ศาลชั้นต้นในภาคเดียวกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในศาลเดียวกัน ถึงแม้ผู้พิพากษาจะคนละคน คนละองค์คณะ
นั่นก็ไม่ใช่ข้ออางของศาลที่จะบอกว่าเป็นเหตุให้มีความชอบธรรมที่จะใช้ดุลพินิจในเรื่องเดียวกันให้แตกต่าง
้
กันได้
ิ
๓) หลักของความได้สัดส่วนตามความหนักเบาแห่งกรณี (Proportionality) การใช้ดุลพนิจ
นั้น จ าเป็นต้องค านึงถึงความเป็นธรรมและความพอเหมาะพอควรในแต่ละเรื่องด้วย ซึ่งดูเผินๆ เหมือนว่า
ิ
จะไปขัดแย้งกับข้อก่อนหน้านี้ที่ว่า ในเรื่องเดียวกันต้องใช้ดุลพนิจให้เหมือนกันไม่แตกต่างกันแต่ในขณะ
เดียวกันก็ต้องใช้ดุลพินิจให้เหมาะสมพอเหมาะพอควรแก่กรณีในแต่ละเรื่องด้วย แท้ที่จริงแล้วหลักเกณฑ์ ๒
ั
ข้อนี้หาได้ขัดแย้งกัน กล่าวคือ ถ้ามีเหตุผลมีพฤติกรรมในแต่ละกรณีอธิบายให้เห็นความแตกต่างกนได้ การ
ใช้ดุลพนิจในแต่ละกรณีก็ควรจะต้องแตกต่างกัน ไม่จ าเป็นต้องเหมือนกันหมดเช่น ในเรื่องบัญชีมาตรฐาน
ิ
การลงโทษที่ใช้ในการวางดุลพนิจในการก าหนดโทษในทางอาญา การมีบัญชีมาตรฐานการลงโทษเป็นการ
ิ
ิ
ก ากับให้การใช้ดุลพนิจของศาลในระดับเดียวกัน ในภาคเดียวกัน ในศาลเดียวกันเป็นเอกภาพไม่ลักลั่น ไม่
แตกต่างในกรณีเดียวกัน แต่ในขณะเดียวกันการเคร่งครัดอยู่กับบัญชีมาตรฐานการลงโทษก็จะท าให้เกิด
ช่องว่างในการที่จะท าให้ค าตัดสินหรือการวินิจฉัยในแต่ละเรื่องที่มีความแตกต่างกันในรายละเอยดไม่ได้
ี
สัดส่วนพอเหมาะพอควรกับกรณี หาวิธีที่จะท าให้ดุลพนิจของศาลสามารถสอดคล้องกับหลักการในทาง
ิ
หลักวิชาการของกรอบการใช้ดุลพินิจกล่าวคือ เป็นเอกภาพไม่แตกต่างในเรื่องที่เหมือนกัน แต่ขณะเดียวกัน
ศึกษาของศาลอุทธรณ์ภาค ๑ กรณีขับรถในขณะเมาสุรา. งานเอกสารวิชาการส่วนบุคคล หลักสูตร “ผู้บริหารกระบวนการ
ยุติธรรมระดับสูง (บ.ย.ส.)” รุ่นที่ ๑๒