Page 487 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 487

๔๗๕


                 แสนบาท ในเรื่องนี้มีกฎหมายก าหนดแนวทางอยู่ เช่น ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๓๕ ลักทรัพย์

                 โดยเป็นการกระท าด้วยความจ าใจหรือความยากจน และทรัพย์นั้นมีราคาเล็กน้อย ศาลจะลงโทษลักทรัพย์

                 ธรรมดาได้ ส าหรับการกระท าของจ าเลยซึ่งแม้จะกระท าลงไปด้วยเจตนาดีหรือเป็นผลดีแต่ไม่เป็นข้อแก้ตัว
                     ้
                 ให้พนโทษก็ควรจะพจารณาถึงด้วย เช่น ความเจ็บป่วย บุตรที่ต้องดูแล ส่วนเรื่องผลร้ายของการกระท า
                                  ิ
                 ความผิดนั้นกฎหมายได้บัญญัติวางเกณฑ์ก าหนดโทษไว้เป็นชั้นๆ ลดหลั่นกันซึ่งถือเป็นหลักในการใช้
                 ดุลพินิจได้โดยกฎหมายวางโทษคนละบท อัตราโทษหนักและเบาต่างกัน

                            (๔) การกระท านั้นกระทบกระเทือนต่อผู้เสียหายหรือรัฐเพยงใด กฎหมายก าหนดโทษในกรณี
                                                                            ี
                 เช่นนี้แตกต่างกัน แต่คดีใดไม่เข้าเกณฑ์ดังกฎหมายก าหนดควรใช้ดุลพนิจในการก าหนดโทษให้ได้ใกล้เคียง
                                                                          ิ
                 กัน นอกจากนี้ควรพจารณาถึงกิริยาที่กระท าประกอบด้วย เช่น กระท าโดยความทรมานอย่างทารุณ
                                   ิ
                 ปราศจากความเมตตา เป็นต้น ทั้งบางกรณีมีความจ าเป็นที่จะต้องป้องกันเพอประโยชน์สาธารณชน เช่น
                                                                                ื่
                 ความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด ความผิดเกี่ยวกับการขับรถในขณะเมาสุรา ซึ่งเป็นการกระท าที่ท าให้สังคม
                 เดือดร้อน ควรถือเป็นแนวทางก าหนดโทษเป็นการปราบปรามและป้องกันมิให้กระท าความผิดเกิดขึ้นอก
                                                                                                       ี
                 โทษที่ก าหนดควรมีความหนักเบาให้ได้สัดส่วนกับผลของการกระท า
                            ๒) บัญชีมาตรฐานการลงโทษ คือ บัญชีอตราโทษของศาลแต่ละศาลที่ได้ก าหนดขึ้นโดย
                                                                ั
                  ิ
                             ั
                 พจารณาจากอตราโทษที่กฎหมายก าหนดไว้ เพอเป็นแนวทางในการลงโทษผู้กระท าความผิด โดยถือหลัก
                                                        ื่
                                                                                                    ื่
                 ว่าในความผิดฐานเดียวกัน ความร้ายแรงเท่ากัน ผู้กระท าความผิดควรจะได้รับโทษเท่าเทียมกันเพอให้
                 ผู้กระท าความผิดเกิดความรู้สึกว่าตนเองได้รับความยุติธรรม ซึ่งบัญชีอตราโทษอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้
                                                                            ั
                                                                              ั
                 โดยค านึงถึงความเดือดร้อนของสังคมที่ได้รับจากการกระท าความผิด อนเป็นเครื่องมือที่แสดงถึงความ
                 สัมพันธ์ระหว่างกฎหมายกับสังคม



                 แนวค าพิพากษาเกี่ยวกับการกระท าความผิดฐานเป็นผู้ขับขี่เสพยาเสพติด
                            แม้ผู้เสพเมทแอมเฟตามีนที่กระท าความผิดฐานเป็นผู้ขับขี่เสพยาเสพติดตามพระราชบัญญัติ

                 ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๕๗ , ๙๑ พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๓

                 ทวิ วรรคหนึ่ง , ๑๕๗/๑ วรรคสอง  จะถูกลงโทษตามพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ ๑๕๗/๑
                 วรรคสอง ประกอบพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๙๑ ซึ่งเป็นกฎหมายบทที่มีโทษ

                 หนักสุดก็ตาม แต่ยังถือว่าเป็นการกระท าดังกล่าวเป็นความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด ตามพระราชบัญญัติวิธี

                 พจารณาคดียาสเพติด พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๕ ดังนั้นการด าเนินกระบวนพจารณาต้องเป็นไปตาม
                  ิ
                                                                                    ิ
                                                                                                  ๒๑
                 พระราชบัญญัติวิธีพจารณาคดียาสเพติด พ.ศ. ๒๕๕๐ ตามค าพพากษาศาลฎีกาที่ ๙๐๕๐/๒๕๕๓  หาก
                                                                      ิ
                                  ิ
                 ผู้เสพเมทแอมเฟตามีนกระท าความผิดฐานเป็นผู้ขับขี่เสพยาเสพติดซ้ า ก็ถือว่าเป็นการกระท าความต้องเพม
                                                                                                       ิ่
                 โทษกึ่งหนึ่ง ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๙๗ ตามค าพพากษาศาลฎีกาที่
                                                                                         ิ

                        ๒๑  กองผู้ช่วยผู้พิพากษาศาลฎีกา. ค าพิพากษาศาลฎีกาที่ ๙๐๕๙/๒๕๕๓ (ออนไลน์)  (๒๖ กรกฎาคม ๒๕๖๔)
                 https://deka.supremecourt.or.th/search
   482   483   484   485   486   487   488   489   490   491   492