Page 485 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 485
๔๗๓
ก็สามารถมีความพอเหมาะพอควรและเป็นธรรมได้เหมาะสมกับแต่ละคดีที่สามารถชี้ให้เห็นความแตกต่าง
กันได้ ขึ้นอยู่กับศาลเองหรือผู้ใช้ดุลพินิจเองจะต้องวิเคราะห์ความแตกต่างใน ๒ เรื่องนี้ออกมาให้ได้เสียก่อน
ั
ั
ถ้าสามารถชี้ให้เห็นความแตกต่างได้แล้ว จึงจะหลุดจากหลักการในเรื่องของความเป็นอนหนึ่งอนเดียวกัน
มาสู่ความพอเหมาะพอควรในแต่ละกรณีได้
๔) หลักการใช้ดุลพนิจต้องไม่เป็นไปตามอาเภอใจ (Discretionary) ประการที่ส าคัญที่สุด
ิ
ประการสุดท้ายที่จะท าให้การใช้ดุลพนิจไม่เป็นไปโดยอาเภอใจ เป็นการใช้ดุลพนิจที่อยู่ในหลักเกณฑ์ใน
ิ
ิ
ิ
กรอบของความถูกต้องชอบธรรมนั้นเป็นจริงได้ เป็นการใช้ดุลพนิจที่โปร่งใสที่สามารถให้ประชาชน
คาดหมายผลสุดท้ายของการใช้ดุลพินิจในเรื่องนั้นได้พอสมควร และยังท าให้ศาลสูงสามารถตรวจสอบ การ
ิ
ิ
ี
วางกฎเกณฑ์ตายตัวว่าการใช้ดุลพนิจทุกครั้งทุกกรณีต้องให้เหตุผลอย่างเพยงพอและชัดเจน การใช้ดุลพนิจ
ิ
ที่ไม่ให้เหตุผลนั้นจะเป็นการท าลายระบบที่ต้องการจะวางกรอบกฎเกณฑ์ เงื่อนไขและระบบการใช้ดุลพนิจ
ิ
ทั้งหมด เพราะถ้าไม่ต้องให้เหตุผลในการใช้ดุลพนิจนั้นก็ไม่อาจตรวจสอบว่าเป็นการใช้โดยมูลเหตุจูงใจผิด
หรือถูก เป็นการใช้ดุลพนิจโดยหวังประโยชน์ส่วนตัวหรือว่าประโยชน์ส่วนรวมเป็นการใช้โดยอาเภอใจหรือ
ิ
โดยมีเหตุมีผลพอเหมาะพอควรแก่เรื่องหรือไม่ และสาธารณชนจะทราบได้อย่างไรว่าที่ศาลใช้ดุลพินิจอย่าง
ุ
นั้นเนื่องมาจากอะไร แล้วจะปรับแก้อย่างไรให้ถูกต้อง หรือเขาจะอทธรณ์ฎีกาได้อย่างไร แล้วศาลสูงจะ
ุ
ิ
ตรวจสอบได้อย่างไรว่าที่ศาลล่างใช้ดุลพนิจมานั้นถูกต้องอย่างไร การอทธรณ์ในเรื่องดุลพินิจที่ไม่ให้เหตุผล
ิ
ี
ี
ก็เป็นเพยงแต่การขอให้ศาลใช้ดุลพินิจใหม่อกครั้งหนึ่งเท่านั้นไม่ใช่เป็นการตรวจสอบการใช้ดุลพนิจของผู้ที่
ิ
ควรจะเป็นหลักในการใช้ดุลพนิจองค์ประกอบในการใช้ดุลพินิจในการลงโทษหลักเกณฑ์ในการก าหนดโทษ
ิ
ไม่มีกฎหมายบัญญัติไว้โดยตรง ดังนั้น การก าหนดโทษจึงเป็นเรื่องการใช้ดุลพนิจของศาล กล่าวคือ ศาลมี
อิสระที่จะลงโทษจ าเลยเท่าที่ไม่เกินอัตราที่กฎหมายก าหนดไว้ส าหรับความผิดนั้น
ในทางปฏิบัติอาจกล่าวได้ว่าองค์ประกอบที่ศาลจะน ามาพจารณาเพอใช้ในการลงโทษแก่
ิ
ื่
ผู้กระท าความผิดนั้นจะต้องค านึงถึงสิ่งต่างๆ ดังต่อไปนี้
๑) ข้อเท็จจริงในคดี ในการพจารณาลงโทษผู้กระท าความผิด ความผิดที่ผู้กระท าแต่ละคน
ิ
กระท าไปนั้นแม้จะเป็นความผิดฐานเดียวกัน แต่ข้อเท็จจริงในคดี เช่น ลักษณะการกระท าความผิดลักษณะ
ของผู้กระท าความผิดย่อมแตกต่างกันไป การวางโทษให้เหมาะสมเพียงรายนั้นจึงขึ้นอยู่กับข้อเท็จจริงต่าง ๆ
ในคดี เช่นสภาพความผิดและพฤติการณ์แห่งคดี มูลเหตุในการกระท าความผิด ลักษณะของผู้กระท า
ี่
ความผิดตลอดถึงเหตุอื่นๆ ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับความผิดที่ผู้กระท าความผิดได้กระท าเท่าทพอจะรวบรวมได้จาก
การพจารณาคดีนั้นๆ แล้วจึงวางโทษที่จะลงให้เหมาะสมการพจารณาวางโทษให้เหมาะสมกับผู้กระท า
ิ
ิ
ความผิดแต่ละคนประกอบด้วยลักษณะของผู้กระท าความผิด ควรพจารณาถึงความชั่วร้ายของผู้กระท า
ิ
ความผิดคือแยกเป็นการกระท าโดยเจตนากับโดยประมาท ส าหรับการกระท าโดยเจตนานั้นต้องดูจิตใจของ
ผู้กระท าความผิดโดยอาศัยจากหลักที่ว่า “กรรมเป็นเครื่องชี้เจตนา” การกระท าอย่างเดียวกันอาจจะมี
ความรุนแรงมากน้อยแตกต่างกัน อาการกิริยาที่ผู้กระท าความผิดแสดงออกในเวลากระท าความผิด เป็น
การแสดงถึงนิสัยใจคอของผู้กระท าความผิด ควรน ามาพจารณาประกอบกับเหตุและจุดประสงค์ของ
ิ
ผู้กระท าความผิด ส่วนความผิดที่กระท าโดยประมาท ควรค านึงว่าผู้กระท าความผิดได้กระท าโดยความมัก