Page 476 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 476

๔๖๔


                 อีกทั้งความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดเป็นความผิดที่กฎหมายบัญญัติขึ้นห้ามไม่ให้กระท าซึ่งบางครั้งไม่สอดคล้อง

                 ต่อสภาวะความเป็นจริงของสาเหตุการกระท าความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด

                            ตามหลักอาชญาวิทยาไม่ถือว่าผู้กระท าความผิดตามกฎหมายที่ห้ามเสพยาเสพติดเป็น
                                       ี
                 ผู้ประกอบอาชญากรรม อกทั้งผู้กระท าความผิดเป็นเหยื่อของการกระท าความผิดด้วย เนื่องจากได้รับ
                 ผลร้ายจากการประกอบอาชญากรรมซึ่งไม่ค านึงว่าจะผู้กระท าเป็นผู้ก่ออาชญากรรมนั้นขึ้นเองหรือไม่ มัก
                 เรียกว่าเป็น “อาชญากรรมไร้ผู้เสียหาย” (Victimless Crimes) ซึ่งหมายความว่า การกระท าผิดกฎหมาย

                 โดยไม่มีเหยื่อโดยตรง

                            รูปแบบอาชญากรรมไร้ผู้เสียหายมี ๔ รูปแบบ คือ
                            ก รูปแบบของสังคมไร้ระเบียบ (Anomin Model) กล่าวถึงโอกาสและมาตรการป้องกันการ

                 กระท าความผิด โดยรูปแบบนี้เห็นว่าการกระท าที่ผิดจากบรรทัดฐานทางศีลธรรมยังคงมีอยู่ในสังคมที่มีการ

                 เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวางซึ่งก่อให้เกิดสังคมที่ไม่เป็นระเบียบ และน าไปสู่พฤติกรรมที่ไม่เป็น
                 ระเบียบของคนในสังคม การกระท าผิดที่ผิดศีลธรรมมักมุ่งเน้นไปที่การแสวงหาเงินที่ไม่สอดคล้องต่อระบบ

                 โอกาสของสังคมหรือโครงสร้างที่ไร้ระเบียบ
                            ข รูปแบบทางการแพทย์ (Medical Model) เปรียบเทียบอาชญากรรมที่ไร้ผู้เสียหายว่า

                                              ี่
                 เสมือนอาการป่วยทางจิตหรือโรคทเกี่ยวกับสุขภาพร่างกาย โดยรูปแบบนี้ตั้งสมมุติฐานไว้ว่า พฤติกรรมที่ใช้
                 ยาเสพติดคืออาการป่วยทางจิตหรือสรีระวิทยา
                            ค รูปแบบปฏิกิริยาทางสังคมหรือการตราหน้า (Labeling/Social Reaction Model)

                 กล่าวถึงโครงสร้างสังคมของอาชญากรว่ายังคงรักษาไว้ซึ่งแนวคิดของผู้สนับสนุนการห้าม
                                                                                            ิ
                            ง รูปแบบการวิพากษ์ (Critial Model) กล่าวถึงทฤษฎีวัตถุนิยมและการสร้างอทธิพลที่อยู่บน
                  ื้
                 พนฐานอาชญากรรมเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของสังคมโดยวางหลักว่า อาชญากรรมคือผลผลิตทาง
                 การเมืองและเศรษฐกิจที่ด้อยคุณภาพ ซึ่งนักอาชญาวิเคราะห์โต้แย้งว่า อาชญากรรรมระดับล่างคือ
                 ผู้เสียหายที่เสียหายสองครั้งในสังคม ความเสียหายแรกเกิดจากอนตรายของการด ารงชีวิตที่ยากไร้และเต็ม
                                                                      ั
                 ไปด้วยอาชญากรรม และความเสียหายที่สองเกิดการได้รับจากกระบวนการยุติธรรมซึ่งพิจารณาว่าพวกเขา

                 เป็นปัญหาของการควบคุมสังคมและเป็นการมุ่งหมายเกี่ยวกับการตราหน้าหรือการจ าคุก สิ่งที่ส าคัญของ
                 รูปแบบนี้คือ การเห็นแก่ตัวในสังคมทุนนิยมซึ่งเป็นต้นก าเนิดการเน้นเกี่ยวกับวัตถุยิ่งกว่าคุณค่าความเป็น

                 มนุษย์

                            (๒) ทฤษฎีแทนการด าเนินคดีอาญา (The Principle of Diversion)
                            หลักการของแนวคิดนี้อยู่ที่การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการด าเนินคดีอาญาตามปกติโดยการน า

                 มาตรการแทนการด าเนินคดีอาญามาใช้ก่อนการฟ้องคดีต่อศาล โดยการหลีกเลี่ยงหรือเบี่ยงเบนไม่น ากระ
                 บวนการตามแบบพิธีมาใช้กับผู้กระท าความผิดให้ครบทุกขั้นตอนแต่ใช้วิธีอื่นแทนซึ่งอาจมีกฎหมายอนุญาต

                                                                               ื่
                 โดยชัดแจ้งหรือไม่ก็ตาม มาตรการแทนการด าเนินคดีอาญามีวัตถุประสงค์เพอการน าผู้ต้องหาหรือผู้กระท า
                 ความผิดในคดีบางประเภทมาบ าบัดรักษา ปรับปรุงแกไขฟนฟูโดยเห็นว่าผู้กระท าความผิดมิใช่อาชญากร
                                                             ้
                                                                ื้
                 การกระท านั้นมีเหตุปัจจัยจากกการเจ็บป่วยทางร่างกายและจิตใจร่วมถึงสภาวะสิ่งแวดล้อม มาตรการแทน
   471   472   473   474   475   476   477   478   479   480   481