Page 475 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 475
๔๖๓
อาเจียน สายตาพร่ามัว เดินเซ และสับสนได้ แต่เมื่อหมดฤทธิ์ร่างกายจะรู้สึกออนเพลียมากกว่าปกติ ระบบ
่
๘
ประสาทท างานช้าลงส่งผลท าให้เกิดการตัดสินใจช้าและผิดพลาด เป็นเหตุให้เกิดอุบัติเหตุตามมาได้
แนวคิดการฟื้นฟูสมรรมถภาพผู้เสพยาเสพติด
๙
เนื่องจากมาตรการทางกฎหมายที่มุ่งเน้นแต่การลงโทษแก่ผู้เสพหรือติดยาเสพติดไม่สามารถ
แก้ไขปัญหาของผู้เสพหรือติดยาเสพติดให้เลิกเสพหรือติดได้อย่างเด็ดขาด ดังนั้น จึงมีมาตรการทาง
กฎหมายที่เน้นการบ าบัดฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดเกิดขน เพื่อฟื้นฟูร่างกายให้แขงแรงและฟื้นฟจิตใจ
ึ้
็
ู
ให้เข้มแข็ง ปรับเปลี่ยนความเคยชินในเรื่องการใช้ยาเสพติด ให้สามารถเลิกพงยาเสพติด ปรับเปลี่ยนการ
ึ่
รับรู้ ปรับเปลี่ยนความคิด ปรับเปลี่ยนทัศนคติ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยใช้โปรแกรมฟื้นฟูสมรรถภาพ
ั
ผู้ติดยาเสพติดที่เหมาะสม ท าให้ผู้ติดยาเสพติดมีการรับรู้ มีความคิด มีทัศนคติ มีพฤติกรรมในทางบวกอน
เป็นประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัว และสังคม ท าให้ด ารงชีพอยู่ในสังคมได้โดยไม่ใช้ยาเสพติด การบ าบัด
ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดจึงใช้ควบคู่กันมาโดยตลอด เพราะในการช่วยเหลือผู้ติดยาเสพติดให้เลิกเสพ
ยาเสพติดได้จริงๆ นั้น ต้องใช้การบ าบัดทั้งทางร่างกายและจิตใจ และการฟนฟสมรรถภาพให้พวกเขา
ู
ื้
สามารถสร้างเกราะป้องกันการหันกลับไปใช้ยาเสพติดซ้ า
ี
ู
ื้
การฟนฟสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดถือเป็นมาตรการทางเลือกอกทางหนึ่ง โดยเน้นไปที่การ
ู
แก้ไข ฟนฟ รักษาผู้ติดยาเสพติดหรือผู้เสพยาเสพติด ซึ่งอาจมีทั้งระบบการบ าบัดรักษาโดยสมัครใจ ระบบ
ื้
การบ าบัดรักษาโดยบังคับบ าบัด หรือระบบการบ าบัดรักษาโดยต้องโทษ ทั้งนี้ วิธีการจัดการ หรือมาตรการ
ู
ของการฟนฟสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ไม่ว่าจะเป็นระบบใดก็ตาม ย่อมแตกต่างไปจากการลงโทษ
ื้
ื่
ในลักษณะเพื่อเป็นการแก้แค้นหรือในลักษณะเพอป้องกันอาชญากรรมในสังคมอย่างสิ้นเชิง
ู
ื้
รูปแบบการฟนฟสมรรมถภาพผู้เสพยาเสพติดของแต่ละประเทศมีความแตกต่างกันโดยมี
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
(๑) ทฤษฎีอาชญาวิทยา (The Principle Criminology)
แนวคิดนี้เป็นแนวคิดสากลที่ยอมรับว่าผู้ติดยาเสพติดไม่ใช่อาชญากรแต่เป็นผู้ป่วยทั้งร่างกาย
และจิตใจที่ท าให้ตนเองต้องได้รับความเสียหายและสมควรได้รับความช่วยเหลือจากสังคม ดังนั้น การ
ก าหนดให้ผู้กระท าความผิดเป็นอาชญากรจึงไม่ถูกต้อง เพราะสาเหตุแห่งการกระท าความผิดมีหลายกรณี
๘ อภิสรา กูลวงศ์ธนโรจน์. (๒๕๖๓). การศึกษาอุบัติการณ์ของผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจรทางบกที่มีการใช้
แอลกอฮอล์ ยาเสพติด และยาหรือสารออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทในจังหวัดสมุทรสาคร พ.ศ. ๒๕๕๘ - ๒๕๖๑. วารสาร
แพทย์เขต ๔-๕, ๓๙(๒), ๒๑๔-๒๒๖. (ออนไลน์) (๒๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔) https://he02.tci-
thaijo.org/index.php/reg45/article/view/242839/165071
๙ นายสิงห์พิทักษ์ ละมูลมอญ, ๒๕๕๖, เรื่อง ปัญหาการใช้ดุลพินิจของศาลในการบังคับใช้พระราชบัญญัติฟื้นฟู
สมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๔๕, ผลงานส่วนบุคคล หลักสูตร “ผู้พิพากษาผู้บริหารในศาลชั้นต้น” รุ่นที่ ๑๑,
สถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม สานักงานศาลยุติธรรม (ออนไลน์) (๒๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔)
https://library.coj.go.th/pdf-view.html?fid=1524&table=files_biblio