Page 497 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 497
๔๘๕
ที่เหมาะสม ประโยชน์ของรัฐหรือสาธารณชนที่ได้รับผลกระทบจากผลของการกระท าความผิด มีผล
ร้ายแรงมากเพียงใดที่ท าให้สังคมเดือดร้อน ควรถือเป็นแนวทางก าหนดโทษเป็นการปราบปรามและป้องกัน
มิให้กระท าความผิดเกิดขึ้นอีก เจตนารมณ์ของกฎหมายตามทฤษฎีการลงโทษ โดยมุ่งเน้นการป้องกันสังคม
ู
ื้
ื่
ี
และในขณะเดียวกันเป็นการแก้ไขฟนฟผู้เสพยาเสพติดไม่ให้หวนกลับมากระท าความผิดซ้ าอก เพอความ
ู
ปลอดภัยของสังคมในระยะยาว โดยเมื่อผู้กระท าความผิดได้รับการแก้ไขฟนฟแล้วสามารถกลับไปใช้ชีวิต
ื้
ตามปกติในสังคมได้
ข้อเสนอแนะ
ู
ื่
ื้
๑) เพอให้เป็นไปตามวัตุประสงค์และเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติฟนฟสมรรรถภาพ
ู
ผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๔๕ ที่เห็นว่า ผู้เสพยาเสพติดเป็นผู้ป่วยมิใช่อาชญากรปกติ การฟนฟสมรรถภาพ
ื้
ของผู้ติดยาเสพติดจึงสมควรกระท าให้กว้างขวาง จึงควรให้ผู้กระท าความผิดฐานเป็นผู้ขับขี่เสพยาเสพติที่
ื้
ู
ื่
ยังไม่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลอนต้องเข้าสู่กระบวนการฟนฟสมรรถาพผู้เสพยาเสพติด โดยมีการ
แก้ไขเพมเติมพระราชบัญญัติพระราชบัญญัติฟนฟสมรรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๔๕ ให้
ื้
ู
ิ่
ผู้เสพยาเสพติดที่กระท าความผิดอนที่ยังไม่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้อนสามารถเข้ากระบวนการฟนฟ ู
ื่
ื่
ื้
สมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดได้โดยยังไม่ต้องฟองคดี ดังเช่น ความผิดฐานเสพยาเสพติด เสพและมีไว้ใน
้
ครอบครอง เสพและมีไว้ในครอบครองเพอจ าหน่าย หรือเสพและจ าหน่ายยาเสพติดตามลักษณะ ชนิด
ื่
ู
ประเภท และปริมาณที่ก าหนดในกฎกระทรวง พระราชบัญญัติพระราชบัญญัติฟนฟสมรรรถภาพ
ื้
ผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๑๙
๒) เนื่องจากปัจจุบันผู้เสพยาเสพติดที่กระท าผิดฐานเป็นผู้ขับขี่เสพยาเสพติดไม่สามารถเข้าสู่
ื้
กระบวนการฟนฟสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดได้ แต่ส านักงานศาลยุติธรรมได้ร่วมกับส านักงานป้องกันและ
ู
ปราบปรามยาเสพด าเนินงานด้านคลินิกสังคมในศาล ซึ่งในคลินิกสังคมจะมีนักจิตวิทยาท างานอยู่ด้วย
ดังนั้นในชั้นฝากขังก่อนปล่อยตัวชั่วคราวผู้กระท าความผิดควรมีการก าหนดเงื่อนไขให้ผู้กระท าความผิดไป
พบนักจิตวิทยาเพอให้ประเมินว่าผู้กระท าความผิดรู้ส านึกในกระท าความผิดหรือไม่ เป็นบุคคลที่ยังอยู่ที่ยัง
ื่
ื่
ู
ื้
สามารถแก้ไขบ าบัดฟนฟสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดเพอไม่ให้กลับมากระท าความผิดได้หรือไม่ หากเห็นว่า
บุคคลดังกล่าวสามารแก้ไขบ าบัดฟื้นฟสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดก็ควรแนะน าให้ผู้เสพยาเสพติดเข้าสู่ระบบ
ู
บ าบัดฟื้นฟูในระบบสมัครใจเพอจะเป็นประโยชน์แก่ตัวผู้กระท าความผิด อีกทั้งผู้พิพากษาสามารถน าข้อมูล
ื่
ื้
ิ
ู
การบ าบัดรักษามาใช้ประกอบดุลพนิจในการก าหนดโทษหรือมาตรการในการฟนฟสมรรถภาพ
ื้
ผู้ติดยาเสพติด แต่หากศาลใดยังไม่มีนักจิตวิทยาก็ควรจัดให้มีเจ้าหน้าที่แนะน าวิธีการเข้าบ าบัดฟนฟ ู
สมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด เพอก่อนการพพากษาของศาลจะได้มีข้อมูลว่าบุคคลดังกล่าวมีแนวโน้มที่จะ
ื่
ิ
แก้ไขฟื้นฟูได้หรือ ไม่เพื่อใช้ประกอบดุลพินิจในชั้นพิจารณาพิพากษาต่อไป
ิ
ิ
๓) ในชั้นพจารณาก่อนพพากษาคดี ผู้พพากษาควรให้พนักงานคุมประพฤติด าเนินการ
ิ
ู
ื้
สืบเสาะและพนิจการกระท าความผิดก่อน หากจ าเลยเข้าสู่กระบวนการฟนฟในระบบสมัครใจแล้วก็ให้
ิ