Page 501 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 501

ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับการปล่อยชั่วคราวในชั้นพจารณาคดีของศาลชั้นต้น
                                                                          ิ
                  Legal  Problems  on  the  Provisional  Release  in the Court of First Instance



                                                                                                          
                                                                                         นายสมพร ศรีกฤษณ์
                                                             เลขานุการศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบภาค ๘
                                                                                        Somporn Srikrishna

                                Secretary of the Criminal Court for Corruption and Misconduct Cases, Region 8


                 บทคัดย่อ


                         สิทธิในการได้รับการปล่อยชั่วคราวเป็นสิทธิขั้นพนฐานของผู้ต้องหาหรือจ าเลยเมื่อเข้าสู่กระบวนการ
                                                                ื้
                 ยุติธรรม ศาลยุติธรรมตระหนักถึงความส าคัญของสิทธิดังกล่าวจึงมีการออกข้อบังคับ ระเบียบ และค าแนะน า

                                              ื่
                 ของประธานศาลฎีกาหลายฉบับเพอให้ผู้ต้องหาหรือจ าเลยมีโอกาสเข้าถึงสิทธิในการได้รับการปล่อยชั่วคราว
                 มากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ต้องหาหรือจ าเลยที่มีฐานะยากจน ไม่สามารถหาหลักทรัพย์มาวางเป็นหลักประกันได้

                  ั
                 อนเป็นการลดความเหลื่อมล้ าในการเข้าถึงสิทธิในการได้รับการปล่อยชั่วคราว โดยลดความส าคัญของจ านวน
                 หลักประกันลง และสนับสนุนให้มีการน าเทคโนโลยีตลอดจนมาตรการทางกฎหมายต่างๆ มาใช้ร่วมด้วย

                                               ิ
                 จากการศึกษาประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความอาญา ข้อบังคับ ระเบียบ และคาแนะน าของประธานศาลฎีกา
                 ที่เกี่ยวกับการปล่อยชั่วคราว พบว่าประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามิได้บัญญัติให้น าข้อมูลส่วนตัวของ

                 ผู้ต้องหาหรือจ าเลย เช่น ลักษณะความเป็นอยู่ การศึกษา ฐานะ ชีวิตครอบครัว การประกอบอาชีพ ตลอดจน

                 ข้อมูลเกี่ยวกับการกระทาความผิดมาใช้ในการพิจารณาปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจ าเลย ส่วนการส่งเสริมและ
                 คุ้มครองสิทธิในการได้รับการปล่อยชั่วคราวของผู้ต้องหาหรือจ าเลย ปัจจุบันเป็นเพียงนโยบายของประธาน

                 ศาลฎีกาจึงอาจเกิดความไม่แน่นอนและความไม่ต่อเนื่องของนโยบายเมื่อมีการเปลี่ยนตัวผู้บริหาร นอกจากนี้
                 ยังพบว่าผู้ต้องหาหรือจ าเลยที่หลบหนีในระหว่างปล่อยชั่วคราวไม่มีความรับผิดทางอาญาต่างจากผู้ต้องหาหรือ

                 จ าเลยที่หลบหนีจากที่คุมขัง บทความนี้จึงเสนอแนะให้มีการแก้ไขประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความอาญา
                                                                                           ิ
                 มาตรา ๑๐๘ โดยบัญญัติให้น าปัจจัยเรื่องข้อมูลส่วนตัวของผู้ต้องหาหรือจ าเลยมาใช้ในการพจารณาค าร้อง
                                                                                               ิ
                 ขอปล่อยชั่วคราว ควรน าประเด็นเรื่องการขยายโอกาสในการเข้าถึงสิทธิในการได้รับการปล่อยชั่วคราวของ

                 ผู้ต้องหาหรือจ าเลยก าหนดไว้ในพนธกิจและแผนยุทธศาสตร์ศาลยุติธรรม โดยก าหนดแนวทางการด าเนินการ
                                             ั
                                                                                        ี
                                       ั
                 อย่างเป็นรูปธรรม มีการพฒนาและน ามาตรการต่างๆ ที่มีอยู่มาใช้อย่างต่อเนื่อง อกทั้งควรแก้ไขประมวล
                 กฎหมายวิธีพจารณาความอาญาและประมวลกฎหมายอาญาโดยก าหนดความรับผิดทางอาญาของผู้ต้องหา
                            ิ

                 
                   น.บ. (มหาวิทยาลัยรามค าแหง), น.บ.ท., น.ม. (มหาวิทยาลัยรามค าแหง).
   496   497   498   499   500   501   502   503   504   505   506