Page 496 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 496
๔๘๔
ื้
ู
แต่การฟนฟสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดก็เป็นเครื่องมือหนึ่งที่จะช่วยให้เกิดประโยชน์แก่ตัวผู้เสพยาเสพติดที่
ี
เป็นเพยงผู้ป่วยที่มาขับขี่รถที่ยังไม่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลใดเป็นพิเศษ และเป็นผู้มีแนวโน้มแก้ไข
ิ
้
ื่
บ าบัดฟนฟสมรรถภาพผู้เสพยาเสพติดเพอให้พนการการเสพยาเสพติดได้ ดังนั้น การใช้ดุลพนิจในการ
ื้
ู
ื่
ู
ื้
ลงโทษหรือมาตรการต่างๆ ตามกฎหมายเพอฟนฟสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดให้พ้นการเป็นผู้เสพยาเสพติด
ื่
เพอให้ผู้กระท าผิดรู้สึกผิดเข็ดหลาบต่อการกระท าความผิด และมีจิตส านึกตระหนักว่าการกระท าดังกล่าว
ี
ื่
เป็นเรื่องร้ายแรง เพอไม่ให้บุคคลดังกล่าวกระท าผิดอกจึงเป็นเรื่องที่มีความส าคัญ หากผู้กระท าความผิดรู้
ื่
ี
ส านึกในการกระท าผิดแล้วพยายามแก้ไขตนเองเพอไม่ให้กลับมากระท าผิดอก มีแนวโน้มที่จะบ าบัดแก้ไข
ื้
ฟนฟสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดได้ก็ควรใช้มาตรการในการฟนฟสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติแก่ผู้กระท าความ
ู
ื้
ู
ื่
ผิดกลุ่มนี้ก่อน ตามเงื่อนไขของกฎหมายที่เปิดช่องให้กระท าได้เพอเป็นการป้องกันสังคมในระยะยาวมิให้
ื่
ี
เกิดการกระท าความผิดซ้ าอกและสร้างความปลอดภัยให้แก่สาธารณชนเพอให้บรรลุวัตถุประสงค์แห่งการ
ลงโทษในการป้องกันสังคมและแก้ไขฟื้นฟสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดของผู้กระท าความผิดต่อไป
ู
ี
ิ
แต่เป็นการยากที่ผู้พพากษาจะมีข้อมูลของเพยงพอให้เชื่อว่า ผู้กระท าความผิดรู้ส านึกในการ
ี
กระท าความผิดพยายามแก้ไขตนเองไม่ให้กลับมากระท าความผิดอก หรือเป็นบุคคลที่เหมาะสมที่จะใช้
ื้
ู
มาตรการฟนฟสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด แม้ในบางครั้งจะให้เจ้าพนักงานคุมประพฤติสืบเสาะก่อน ตาม
พระราชบัญญัติคุมประพฤติ พ.ศ. ๒๕๕๙ มาตรา ๓๐ ที่บัญญัติว่า “ศาลมีอานาจให้พนักงานคุมประพฤติ
ด าเนินการสืบเสาะและพินิจเกี่ยวกับอายุ ประวัติ ความประพฤติ สติปัญญา การศึกษาอบรม สุขภาพ ภาวะ
แห่งจิตนิสัย อาชีพ สิ่งแวดล้อม สภาพความผิด การรู้สึกความผิดและพยายามบรรเทาผลร้ายที่เกิดขึ้น เหตุ
ั
ื่
ื่
ื่
อนอนควรปรานี และเรื่องอนใดที่เกี่ยวกับจ าเลย แล้วท ารายงานและความเห็นให้ศาลเพอประกอบการ
พจารณาพพากษาหรือเพอประกอบดุลพนิจในการก าหนดโทษได้...” อนเป็นการรวบรวมข้อเท็จจริงในคดี
ิ
ั
ิ
ื่
ิ
ิ
ให้มากที่สุดเท่าที่จะด าเนินการได้ เพอจะน าข้อเท็จจริงดังกล่าวมาประกอบดุลพนิจในการก าหนดโทษหรือ
ื่
มาตรการที่เหมาะสมแก่ผู้กระท าความผิดก็ตาม แต่ข้อเท็จจริงในส่วนของรู้ส านึกในการกระท าความผิดและ
การพยายามแก้ไขตนเองไม่ให้กลับมากระท าความผิดซ้ า เจ้าพนักงานคุมประพฤติมักจะได้ข้อมูลจาก
ผู้กระท าความผิดเท่านั้น เพราะพนักงานคุมประพฤติมีโอกาสพบผู้กระท าความผิดก่อนมีค าพพากษาเพยง
ี
ิ
ไม่กี่ครั้ง และไม่มีข้อมูลจากบุคคลอนว่าผู้กระท าความผิดยังเกี่ยวข้องกับยาเสพติดหรือไม่ จึงอาจไม่
ื่
ี
เพยงพอที่แสดงให้เห็นว่า ผู้เสพยาเสพติดรู้ส านึกในการกระท าความผิดจริงๆ มีความตั้งใจจะไม่กลับมา
ื้
กระท าความผิดอก และเป็นคนที่เหมาะสมกับการใช้มาตรการฟนฟสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ผู้พพากษา
ู
ี
ิ
ิ
จึงเลือกจะใช้ดุลพนิจลงโทษไปตามบัญชีมาตรฐานโทษ ดังนั้น เพอให้บรรลุวัตถุประสงค์ในการป้องกัน
ื่
ื้
ิ
ู
ื่
สังคมและฟนฟสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดย่างมีประสิทธิภาพ ควรมีข้อมูลเพอใช้ประกอบดุลพนิจในการใช้
ู
มาตรการทางกฎหมายเพอก าหนดแนวทางก านหดโทษหรือมาตรการฟนฟสมรรถภาพมาใช้กับ
ื่
ื้
ผู้เสพยาเสพติดที่กระท าความผิดฐานเป็นผู้ขับขี่เสพยาเสพติดที่ยังไม่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลใด
ิ
เป็นพเศษ โดยพจารณาจากข้อเท็จจริงในคดี ได้แก่ ประวัติของผู้กระท าความผิดทั้งในส่วนประวัติชีวิต
ิ
ื่
ส่วนตัวของผู้กระท าความผิด ลักษณะของผู้กระท าความผิดตลอดถึงเหตุอนๆ ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับความผิด
ที่ผู้กระท าความผิดได้กระท าเท่าที่พอจะรวบรวมได้จากการพิจารณาคดีนั้นๆ แล้วจึงวางโทษหรือมาตรการ