Page 495 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 495

๔๘๓


                 ความผิดอนสังคมมักมองว่าพฤติการณ์แห่งการกระท าความผิดเป็นเรื่องที่ร้ายแรง ซึ่งการกระท าความผิด
                         ื่
                 ฐานเป็นผู้ขับขี่เสพเมทแอมเฟตามีนก็เช่นกัน จะถูกสังคมมองว่าเป็นผู้หย่อนความสามารถในการบังคับ

                                                                                  ้
                 ควบคุมตนเอง อนมีผลต่อการคิดตัดสินใจกระท าหรือละเว้นกระท าการให้พนภาวะคับขันที่จะเกิดขึ้น
                               ั
                 ฉับพลันอย่างปลอดภัย ย่อมท าให้ประสิทธิภาพในการขับขี่ควบคุมรถ และการตัดสินใจแก้ไขสถานการณ์
                 ฉุกเฉินที่อาจเกิดขึ้นหย่อนยานลงไปมาก อาจก่อให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงแก่ชีวิต ร่างกาย และ
                 ทรัพย์สินของผู้อนที่ใช้เส้นทางเดินรถร่วมกับผู้เสพยาเสพติดได้ทุกขณะเพราะอาการมึนเมาเมทแอมเฟตามีน
                              ื่
                 ย่อมท าให้ขาดสติ ไม่สามารถใช้ความระมัดระวังในการขับรถได้อย่างเต็มที่ดังเช่นในภาวะที่มีสติสัมปชัญญะ

                                       ุ
                                                                                   ื่
                 บริบูรณ์สุ่มเสี่ยงก่อให้เกิดอบัติเหตุ จึงมีแนวคิดในการลงโทษโดยใช้โทษจ าคุกเพอข่มขู่ผู้เสพยาเสพติดที่ไป
                 ขับขี่รถหรือผู้มีแนวโน้มที่จะกระท าความผิดในลักษณะเดียวกันให้เกรงกลัวการลงโทษ โดยมีวัตถุประสงค์
                 ป้องกันสังคมมิให้เกิดความเสียหายจากการกระท าของบุคคลดังกล่าว โดยมิได้มีการค านึงถึงการบ าบัดฟนฟ ู
                                                                                                     ื้
                 ผู้กระท าความผิดเพอไม่ให้หวนกลับมากระท าความผิดซ้ าอก จึงเป็นเหตุให้ผู้เสพยาเสพติดต้องได้รับโทษ
                                  ื่
                                                                  ี
                 จ าคุกเป็นจ านวนมาก เมื่อออกจากเรือนจ า คนในสังคมส่วนหนึ่งมองว่ากลุ่มผู้ที่เคยได้รับโทษจ าคุกมาก่อน
                 เป็นอาชญากร จึงท าให้บุคคลเหล่านั้นใช้ชีวิตอยู่ในสังคมไม่เหมือนเดิม
                              หากพจารณาข้อมูลการเกิดอบัติเหตุทางจราจรแล้วพบว่า สาเหตุการเกิดอบัติเหตุจากการ
                                                                                           ุ
                                                      ุ
                                   ิ
                 เสพยาเสพติดมีจ านวนน้อยกว่าการขับรถขณะเมาสุราหรือจากความประมาทของผู้ขับขี่เป็นจ านวนมาก
                 เมื่อเปรียบเทียบอัตราโทษที่ผู้เสพยาเสพติดที่กระท าความผิดฐานครอบครอง ครอบครองเพื่อจ าหน่าย และ
                 จ าหน่ายยาเสพติด ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๖๖ วรรคแรก “...ต้องระวาง

                 โทษจ าคุกตั้งแต่สี่ปีถึงสิบห้าปี...” และ มาตรา ๖๗ “...ต้องระวางโทษจ าคุกหนึ่งปีถึงสิบปี...” จะเห็นว่า
                  ั
                 อตราโทษดังกล่าวสูงกว่าอตราโทษส าหรับผู้กระท าความผิดฐานเป็นผู้ขับขี่เสพยาเสพติดตามพระราช
                                        ั
                 บัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๑๕๗/๑ วรรคสอง ประกอบพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ

                 พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๙๑  ที่มีระวางโทษจ าคุกแปดเดือนถึงสี่ปี แสดงให้เห็นว่ากฎหมายมองว่า ความผิด
                 ฐานครอบครอง  ครอบครองเพอจ าหน่าย และจ าหน่ายยาเสตติดมีผลกระทบต่อสังคมมากกว่าการกระท า
                                           ื่
                                                      ่
                 ความผิดฐานเป็นผู้ขับขี่เสพยาเสพติดที่ยังไม่กอให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลอื่น แม้ปัจจุบันจะใช้โทษจ าคุก
                 เป็นเครื่องมือในการข่มขู่จะจ ากัดอสรภาพของผู้กระท าผิดของผู้เสพยาเสพติดที่ไปขับขี่รถหรือผู้มีแนวโน้ม
                                              ิ
                 กระท าผิดในลักษณะเดียวกันก็ตาม แต่ก็ยังมีผู้กระท าความผิดฐานเป็นฐานเป็นผู้ขับขี่เสพยาเสพติดถูก

                           ี
                 ด าเนินคดีอกจ านวนมาก และบางส่วนเป็นผู้กระท าความผิดซ้ าทั้งที่บุคคลดังกล่าวเคยได้รับโทษจ าคุก
                 มาแล้ว ดังนั้น การใช้โทษจ าคุกระยะสั้นเพอข่มขู่อาจยังไม่เพยงพอต่อการป้องกันสังคมให้พนจากการ
                                                      ื่
                                                                     ี
                                                                                               ้
                 กระท าความผิดได้ การบ าบัดฟนฟสมรรถภาพผู้เสพยาเสพติดอย่างถูกต้องอาจเป็นมาตรการหนึ่งที่ช่วยให้
                                           ื้
                                             ู
                 ผู้เสพยาเสพติดไม่กลับมากระท าความผิดซ้ าอก ท าให้ผู้เสพยาเสพติดได้รับโอกาสแก้ไขความผิดของตน
                                                        ี
                 โดยไม่มีมลทินติดตัวไม่กอผลกระทบต่อการด ารงชีพของผู้เสพยาเสพติดและบุคคลในครอบครัวเกินสมควร
                                     ่
                 ท าให้ผู้เสพยาเสพติดรู้ส านึกจากการกระท าความผิดของตนเอง อกทั้งสังคมยังได้บุคคลที่มีคุณภาพกลับสู่
                                                                       ี
                 สังคมเป็นการลดปัญหาสังคมที่จะติดตามมา แม้ข้อมูลของส านักงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
                                                                                                  ี
                 ระบุว่า ผู้ที่เข้าสู่ระบบการฟนฟสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดส่วนหนึ่งยังมีผู้กลับไปเสพยาเสพติดอกก็ตาม
                                        ื้
                                           ู
   490   491   492   493   494   495   496   497   498   499   500