Page 504 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 504

๔๙๒




                                                                             ุ
                                                                                     ิ
                                                              ื่
                                                       ิ่
                 ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๘ จะก าหนดเงื่อนไขเพมเติมเพอรองรับการน าอปกรณ์อเล็กทรอนิกส์ (Electronic
                 Monitoring : EM) ที่ใช้ในการตรวจสอบการเดินทางหรือตรวจสอบต าแหน่งที่อยู่จากระยะไกลมาใช้ในการ
                                                               ื่
                 ปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจ าเลย หรือการน ามาตรการอน เช่น การแต่งตั้งผู้ก ากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราวมาใช้
                   ื
                 เพ่อเป็นการขยายโอกาสให้ผู้ต้องหาหรือจ าเลยที่มีฐานะยากจนมีโอกาสเข้าถึงสิทธิในการได้รับอนุญาตให้
                                                                                                     ิ
                 ปล่อยชั่วคราวมากขึ้นก็ตาม แต่ยังคงพบว่ามีปัญหาในการปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจ าเลยในชั้นพจารณา
                 หลายประการ


                        บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพอศึกษาแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน กระบวนการยุติธรรมทาง
                                                ื่
                                                     ุ
                                                                                                   ิ
                                                            ิ
                 อาญา การปล่อยชั่วคราว แนวคิดเกี่ยวกับอปกรณ์อเล็กทรอนิกส์ ปัญหาการปล่อยชั่วคราวในชั้นพจารณาคดี
                 ของศาล ตลอดจนข้อเสนอแนะในแง่มุมต่างๆ เพอให้การปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจ าเลยเป็นไปอย่างมี
                                                           ื่
                 ประสิทธิภาพ อันจะเป็นการยกระดับการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของผู้ต้องหาหรือจ าเลยในกระบวนการยุติธรรม
                 ได้อย่างแท้จริง



                 ๒. แนวคิดทฤษฎีสิทธิมนุษยชนเกี่ยวกับการถูกลงโทษทางอาญา กระบวนการยุติธรรมทางอาญา
                    การปล่อยชั่วคราว และแนวคิดเกี่ยวกับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์


                       ๒.๑ สิทธิมนุษยชนเกี่ยวกับการถูกลงโทษทางอาญา

                           ๒.๑.๑ สิทธิมนุษยชนเกี่ยวกับการถูกลงโทษทางอาญาตามหลักสิทธิมนุษยชน

                                 สิทธิมนุษยชน (Human Rights) หมายถึง สิทธิความเป็นมนุษย์ เป็นสิทธิตามธรรมชาติที่

                                                          ่
                 ติดตัวมาแต่ก าเนิด เป็นสิทธิที่ไม่สามารถโอนให้แกกันได้ ไม่มบุคคล องค์กร หรือแม้แต่รัฐใดสามารถล่วงละเมิด
                                                                   ี
                 สิทธิความเป็นมนุษย์นี้ได้ สิทธิความเป็นมนุษย์เป็นของบุคคลทุกคน ไม่ว่าบุคคลนั้นจะมีชาติก าเนิด เพศ อายุ
                                               ั
                 สีผิว ฐานะทางเศรษฐกิจที่แตกต่างกน การกระท าใดที่มนุษย์กระท าต่อกันอย่างหยามเกียรติและละเมิดศักดิ์ศรี
                 ความเป็นมนุษย์ไม่ว่าจะเกิดขึ้นกับมนุษย์ที่อาศัยอยู่ ณ ที่ใด และไม่ว่าผู้กระท าการละเมิดจะเป็นบุคคลหรือรัฐใด

                                                   ๒
                 ล้วนถือเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนทั้งสิ้น






                  อายุไม่ถึงสิบแปดปีบริบูรณ์ แม้ผู้นั้นยินยอม จะสั่งให้ใช้อุปกรณ์ดังกล่าวได้ต่อเมื่อผู้นั้นมีพฤติการณ์ที่อาจเป็นภัยต่อบุคคลอื่น
                  อย่างร้ายแรง หรือมีเหตุสมควรประการอื่น”
                        ๒  ส านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, เส้นทางสู่สิทธิมนุษยชนศึกษา (กรุงเทพมหานคร: ส านักงาน

                  คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, ๒๕๔๖), น. ๑๗
   499   500   501   502   503   504   505   506   507   508   509