Page 508 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 508
๔๙๖
(๓) “ในการพิจารณาคดีอาญา บุคคลทุกคนซึ่งต้องหาว่ากระท าผิด
มีสิทธิที่จะได้รับหลักประกันขั้นต่ าดังต่อไปนี้อย่างเสมอภาค”
ี
(b) "สิทธิที่จะมีเวลาและได้รับความสะดวกอย่างเพยงพอในการ
๑๕
เตรียมการต่อสู้คดีและติดต่อกับทนายความที่ตนเลือกได้”
๒.๑.๒ สิทธิมนุษยชนเกี่ยวกับการถูกลงโทษทางอาญาตามรัฐธรรมนูญ
สืบเนื่องจากปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (Universal
Declaration of Human Rights) และกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
(International Covenant of Civil and Political Rights) มีบทบัญญัติคุ้มครองสิทธิของผู้ต้องหาหรือจ าเลย
ประเทศไทยในฐานะภาคีจึงได้น าหลักการดังกล่าวมาบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ดังนี้
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐
มาตรา ๔ วรรคแรก บัญญัติว่า “ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาค
ของบุคคลย่อมได้รับความคุ้มครอง”
มาตรา ๒๖ วรรคแรก บัญญัติว่า “การตรากฎหมายที่มีผลเป็นการจ ากัดสิทธิหรือเสรีภาพ
ของบุคคลต้องเป็นไปตามเงื่อนไขที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ ในกรณีที่รัฐธรรมนูญมิได้บัญญัติเงื่อนไขไว้
ิ
กฎหมายดังกล่าวต้องไม่ขัดต่อหลักนิติธรรม ไม่เพ่มภาระหรือจ ากัดสิทธิหรือเสรีภาพของบุคคลเกินสมควร
แก่เหตุ และจะกระทบต่อศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของบุคคลมิได้ รวมทั้งต้องระบุเหตุผลความจ าเป็นในการ
จ ากัดสิทธิและเสรีภาพไว้ด้วย”
มาตรา ๒๗ วรรคแรก บัญญัติว่า “บุคคลย่อมเสมอกันในกฎหมาย มีสิทธิและเสรีภาพและ
ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายเท่าเทียมกัน”
วรรคสาม บัญญัติว่า “การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคล ไม่ว่าด้วยเหตุ
ิ
ความแตกต่างในเรื่องถิ่นก าเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพการ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของ
บุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม ความเชื่อทางศาสนา การศึกษาอบรม หรือความเห็นทางการเมืองอัน
ไม่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ หรือเหตุอื่นใด จะกระท ามิได้”
๑๕ (3) In the determination of any criminal charge against him, everyone shall be entitled to the
following minimum guarantees, in full equality:
(b) To have adequate time and facilities for the preparation of his defence and to communicate
with counsel of his own choosing...