Page 510 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 510
๔๙๘
๒.๒ กระบวนการยุติธรรมทางอาญา
“กระบวนการยุติธรรมทางอาญา” หมายถึง การด าเนินการของหน่วยงานต่างๆ ในการบังคับใช้
ั
กฎหมายทางอาญา เช่น หน่วยงานต ารวจ หน่วยงานอยการ หน่วยงานศาล หน่วยงานในกระทรวงยุติธรรม
ื่
เพออานวยความยุติธรรมให้เกิดขึ้นในการปฏิบัติตามกฎหมาย การบังคับใช้กฎหมาย และการวินิจฉัยชี้ขาด
ิ
ให้เป็นไปตามกฎหมาย ไม่ว่าจะเป็นกระบวนการชั้นสืบสวนสอบสวน พจารณา พพากษา บังคับคดี หรือ
ิ
กระบวนการอื่นใดอันจะยังให้เกิดความยุติธรรมขึ้นในสังคม
๑๗
๑๘
สาระส าคัญของกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ประกอบด้วยองค์ประกอบดังนี้
๑) การป้องกันอาชญากรรม (Preventing Crime)
๒) การคุ้มครองสาธารณะ (Protecting the Public)
๓) การช่วยเหลือเหยื่ออาชญากรรม ครอบครัวของเหยื่อและพยาน (Supporting Victim of Crime,
Their Families and Witnesses)
๔) จัดการลงโทษผู้กระท าความผิด (Holding people responsible for crimes they have
committed)
ั
๕) ช่วยเหลือผู้กระท าความผิดให้กลับคืนสู่สังคมและเป็นสมาชิกของสังคมที่เชื่อฟงกฎหมาย
(Helping Offense to Return to the Community and Become Law Abiding Members of the
Community)
ปัจจุบัน หลักการด าเนินคดีอาญาอยู่ระหว่างการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนและความ
พยายามควบคุมอาชญากรรมให้อยู่ในปริมาณที่น้อยที่สุดเท่าที่จะท าได้ โดยเฮอร์เบิร์ต แพกเกอร์ (Herbert
Packer) ศาสตราจารย์ทางกฎหมายและนักอาชญวิทยาชาวอเมริกัน วิเคราะห์รูปแบบการด าเนินคดีอาญาซึ่ง
๑๙
เป็นส่วนส าคัญในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาโดยแบ่งเป็น ๒ ทฤษฎี ดังนี้
ื้
ิ
๑๗ กระทรวงยุติธรรม, หลักการและพนฐานกระบวนการยุตธรรมทางอาญา กระบวน การและการบรหารงาน
ิ
ยุ ต ธ ร ร ม ไท ย [อ อ น ไล น์ ], สื บ ค้ น เมื่ อ ๑ ๕ ตุ ล า ค ม ๒ ๕ ๕ ๙ . http://www.moj.go.th/ upload/mini
ิ
๑๑๐_information/uploadfiles/๒๕๔๐๐_๙๒๗๐.pdf.
ิ
ื้
๑๘ อุทัย อาทิเวช, กฎหมายวิธีพจารณาความอาญาและพยานชั้นสูง : แนวคิดพนฐานเกี่ยวกับกระบวนการ
ิ
ิ
ยุตธรรมทางอาญาและบทบาทขององค์การสหประชาชาตเกี่ยวกับกระบวนการยุตธรรมทางอาญา [ออนไลน์], สืบค้นเมื่อ
ิ
๑๒ ตุลาคม ๒๕๖๑. http://www.stou.ac.th/schoolsweb/ /law/UploadedFile/๔๑๗๑๗-๓.pdf.
๑๙ Herbert Packer, The Limits of the Criminal Sanction (California: Stanford University Press,1968), p.
152-153,