Page 514 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 514
๕๐๒
การพิจารณาคดีของประเทศไทยก็โดยอาศัยเหตุผลในเรื่องความขาดแคลนบุคลากรทางราชทัณฑ์ และเกรงว่า
๒๕
จ าเลยจะหลบหนี
๒.๔ แนวคิดเกี่ยวกับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
๒.๔.๑ ความหมายของอปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
ุ
ิ
ุ
อปกรณ์อเล็กทรอนิกส์ (Electronic Monitoring) หมายถึง อปกรณ์ในการควบคุม
ุ
ผู้กระท าความผิดซึ่งประกอบด้วยอุปกรณ์ส่งสัญญาณ (Transmitter Device) ซึ่งโดยส่วนใหญ่จะนิยมใช้ติดตัว
ผู้กระท าความผิด มีลักษณะคล้ายนาฬิกาข้อมือหรือสายหนังรัดข้อมือข้อเท้า มีอปกรณ์รับสัญญาณ (Receiver
ุ
Unit) และศูนย์ควบคุมกลาง (Monitoring Center) ท าหน้าที่ในการควบคุมและสอดส่องผู้กระท าความผิด
ให้อยู่ภายในสถานที่และเวลาที่ก าหนด เช่น การควบคุมตัวในบ้าน สถานที่พักอาศัย หรือสถานที่อื่นๆ ที่มีความ
๒๖
เหมาะสมแทนการจ าคุกผู้กระท าความผิดในเรือนจ า
การน าอปกรณ์อเล็กทรอนิกส์มาใช้ในการติดตามตัวผู้กระท าความผิดในกระบวนการ
ิ
ุ
่
๒๗
ยุติธรรมแบ่งออกเป็น ๓ ขั้นตอน ได้แก
ิ
๑) ขั้นตอนก่อนมีค าพพากษา (Pre - Trial) มักใช้กับจ าเลยที่ได้รับการปล่อยตัวชั่วคราว
เพอจุดประสงค์ในการติดตามผู้ถูกกล่าวหาเพอให้มาปรากฏตัวต่อศาลตามวันนัด และช่วยป้องกันการก่อ
ื่
ื่
ื่
ื่
อาชญากรรมอนๆ ได้ ในขั้นตอนนี้จะใช้เพอการสังเกตเฝ้าระวังเป็นหลัก ตัวอย่างของประเทศที่ใช้ระบบนี้
ได้แก่ ประเทศอังกฤษ ประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศแคนาดา
๒) ทางเลือกในการลงโทษหรือการใช้แทนการจ าคุก (Primary Sentencing) ถือเป็น
ทางเลือกหนึ่งของศาลในการสั่งลงโทษผู้กระท าความผิดแทนที่จะส่งตัวเข้ารับการควบคุมในเรือนจ า
และทัณฑสถานด้วยการเปลี่ยนเป็นการควบคุมที่บ้านแทน ตัวอย่างของประเทศที่ใช้ระบบนี้ ได้แก่ ประเทศ
สหรัฐอเมริกา และประเทศออสเตรเลีย
อุทัย อาทิเวช, กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาและพยานชั้นสูง : แนวคิดพ้นฐานเกี่ยวกับกระบวนการ
๒๕
ื
ยุติธรรมทางอาญาและบทบาทขององค์การสหประชาชาตเกี่ยวกับกระบวนการยุตธรรมทางอาญา [ออนไลน์], สืบค้นเมื่อ
ิ
ิ
๑๓ ตุลาคม ๒๕๖๑. http://www.stou.ac.th/schoolsweb/ law/UploadedFile/๔๑๗๑๗-๓.pdf.
ิ
ู้
ั
วิชย ลีลาสวัสดิ์. การน าเครองมือตดตามตว (Electronic Monitoring) มาใช้กับผถูกคุมความประพฤตในศาล
๒๖
ั
ิ
ื่
แขวงพระนครเหนือ [ออนไลน์], สืบค้นเมื่อ ๑ ธันวาคม ๒๕๖๑. http://elib.coj.go.th/Ebook/data/judge_report/jrp
๒๕๕๗_๑๓_๑๓.pdf.
คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, รายงานสรปประชุมปฏิบัตการวิจัยโครงการ ๒ การกักขังและใช้
ิ
ุ
๒๗
เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ควบคุมผู้ต้องโทษในสหรัฐอเมริกา (กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๓๑), น.๑๐.