Page 518 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 518
๕๐๖
ื่
หรือราคาหลักประกันที่จะน ามาใช้ในการปล่อยชั่วคราวน้อยลง เพอให้ผู้ต้องหาหรือจ าเลยที่มีฐานะยากจน
ิ
ุ
สามารถเข้าถึงสิทธิในการได้รับการปล่อยชั่วคราวได้มากขึ้น โดยน าอปกรณ์อเล็กทรอนิกส์ (Electronic
Monitoring : EM) มาใช้ในการตรวจสอบหรือจ ากัดการเดินทางผู้ต้องหาหรือจ าเลยระหว่างได้รับการ
ปล่อยชั่วคราว ท าให้สามารถตรวจสอบการเดินทางของผู้ต้องหาหรือจ าเลยว่ามีพฤติการณ์หลบหนีหรือไม่ โดย
ิ
มีการตราพระราชบัญญัติแก้ไขเพมเติมประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความอาญา (ฉบับที่ ๓๐) พ.ศ. ๒๕๕๘
ิ่
เพื่อรองรับการใช้อปกรณ์ดังกล่าว มีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๘ ให้ยกเลิกความในวรรคสามของ
ุ
มาตรา ๑๐๘ แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“ในการอนุญาตให้ปล่อยชั่วคราว เจ้าพนักงานซึ่งมีอานาจสั่งให้ปล่อยชั่วคราวหรือศาลจะก าหนด
ื่
เงื่อนไขเกี่ยวกับที่อยู่หรือเงื่อนไขอนใดให้ผู้ถูกปล่อยชั่วคราวปฏิบัติ หรือในกรณีที่ผู้นั้นยินยอมจะสั่งให้ใช้
ื่
ุ
ิ
อุปกรณ์อเล็กทรอนิกส์หรืออปกรณ์อนใดที่สามารถใช้ตรวจสอบหรือจ ากัดการเดินทางของผู้ถูกปล่อยชั่วคราวก็ได้
ื่
ั
ทั้งนี้ เพอป้องกันการหลบหนี หรือภัยอนตราย หรือความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น แต่ถ้าผู้ถูกปล่อยชั่วคราวมีอายุ
ไม่ถึงสิบแปดปีบริบูรณ์ แม้ผู้นั้นยินยอม จะสั่งให้ใช้อปกรณ์ดังกล่าวได้ต่อเมื่อผู้นั้นมีพฤติการณ์ที่อาจเป็นภัยต่อ
ุ
บุคคลอื่นอย่างร้ายแรง หรือมีเหตุสมควรประการอื่น”
้
มีขอน่าสังเกตว่า ในระยะเวลาสองถึงสามปีที่ผ่านมา ศาลยุติธรรมโดยประธานศาลฎีกาให้ความส าคัญ
กับการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของผู้ต้องหาหรือจ าเลยอย่างมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งสิทธิในการได้รับการปล่อย
ชั่วคราว โดยก าหนดเป็นนโยบายประธานศาลฎีกา มีการน ามาตรการและกลไกทางกฎหมายต่างๆ มาใช้เพอ
ื่
ยกระดับการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของผู้ต้องหาหรือจ าเลยอย่างเป็นรูปธรรม ให้มีความเสมอภาคในการ
้
ิ่
เข้าถึงกระบวนการยุติธรรม ดังจะเห็นได้จากการแกไขเพมเติม ตลอดจนออกข้อบังคับ ระเบียบ และค าแนะน า
ที่เกี่ยวกับการปล่อยชั่วคราว โดยขยายโอกาสให้ผู้ต้องหาหรือจ าเลยที่มีฐานะยากจนสามารถเข้าถึงสิทธิในการ
ได้รับการปล่อยชั่วคราวมากขึ้น และสอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันที่เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งสามารถสรุปได้ดังนี้
๑. การแก้ไขเพมเติมข้อบังคับของประธานศาลฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขเกี่ยวกับการ
ิ่
เรียกประกันหรือหลักประกันในการปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจ าเลยในคดีอาญา (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๒
ิ่
สาระส าคัญของการแก้ไขเพมเติมข้อบังคับครั้งนี้ คือ การขยายประเภทคดีที่ศาลสามารถใช้ดุลพนิจ
ิ
ั
อนุญาตให้ปล่อยชั่วคราวได้โดยไม่ต้องมีประกัน จากเดิมที่ก าหนดไว้ส าหรับคดีที่มีอตราโทษจ าคุกอย่างสูงไม่เกิน
ั
ห้าปี แต่หากมีเหตุจ าเป็นต้องมีประกัน ให้ก าหนดวงเงินไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท แก้ไขเป็นคดีที่มีอตราโทษจ าคุก
อย่างสูงไม่เกินสิบปี ศาลสามารถใช้ดุลพนิจอนุญาตให้ปล่อยชั่วคราวโดยไม่ต้องมีประกันได้ แต่หากมีเหตุ
ิ
จ าเป็นต้องมีประกัน ให้ก าหนดวงเงินไม่เกิน ๒๐๐,๐๐๐ บาท เว้นแต่มีเหตุสมควรที่จะสั่งเป็นอย่างอื่น ก็ให้ระบุ
เหตุนั้นไว้โดยชัดแจ้ง นอกจากนี้ ยังขยายประเภทคดีส าหรับการอนุญาตให้ปล่อยชั่วคราวที่ต้องมีประกันแต่จะ
มีหลักประกันหรือไม่กได้ จากเดิมที่ใช้ส าหรับคดีที่มีอตราโทษจ าคุกอย่างสูงเกินห้าปี แก้ไขเป็นคดีที่มีอตราโทษ
็
ั
ั