Page 517 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 517
๕๐๕
(๖) ภัยอันตรายหรือความเสียหายที่จะเกดจากการปล่อยชั่วคราวมีเพียงใดหรือไม่
ิ
(๗) ในกรณีที่ผู้ต้องหาหรือจ าเลยต้องขังตามหมายศาล ถ้ามีค าคัดค้านของพนักงานสอบสวน
พนักงานอัยการ โจทก์ หรือผู้เสียหาย แล้วแต่กรณี ศาลพึงรับประกอบการวินิจฉัยได้
เพอประโยชน์ในการด าเนินการตามวรรคหนึ่ง เจ้าพนักงานซึ่งมีอานาจสั่งให้ปล่อยชั่วคราวหรือศาล
ื่
ั
อาจรับฟงข้อเท็จจริง รายงานหรือความเห็นของเจ้าพนักงานซึ่งกฎหมายก าหนดให้มีอานาจหน้าที่ที่เกี่ยวกับ
การนั้นเพื่อประกอบการพิจารณาสั่งค าร้องด้วยก็ได้
ในการอนุญาตให้ปล่อยชั่วคราว เจ้าพนักงานซึ่งมีอานาจสั่งให้ปล่อยชั่วคราว หรือศาลจะก าหนด
เงื่อนไขเกี่ยวกับที่อยู่ของผู้ที่ถูกปล่อยชั่วคราว หรือก าหนดเงื่อนไขอื่นใดให้ผู้ถูกปล่อยชั่วคราวปฏิบัติเพื่อป้องกน
ั
ั
ื่
ื่
๓๑
การหลบหนีหรือเพอป้องกนภัยอันตราย หรือความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากการปล่อยชั่วคราวก็ได้” เพอให้
ิ
การพจารณาค าร้องขอปล่อยชั่วคราวของศาลสอดคล้องกับบทบัญญัติดังกล่าวและเป็นไปในทิศทางเดียวกันจึง
มีการออกข้อบังคับของประธานศาลฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการเรียกประกันหรือ
หลักประกันในการปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจ าเลยในคดีอาญา พ.ศ. ๒๕๔๘ โดยก าหนดรายละเอียดเกี่ยวกับ
หลักเกณฑ์ที่ใช้ในการพิจารณาค าร้องขอปล่อยชั่วคราว การก าหนดวงเงินประกันในความผิดต่างๆ ซึ่งพจารณา
ิ
จากอตราโทษตามกฎหมายและค าพพากษาของศาล หลักการเรียกประกันหรือหลักประกันในกรณีที่ผู้ขอ
ั
ิ
ประกันมีความเกี่ยวพนกับจ าเลย ประเภทหลักทรัพย์ที่ใช้เป็นหลักประกัน หลักเกณฑ์และวงเงินกรณีที่ใช้
ั
บุคคลเป็นประกัน นอกจากนี้ ยังมีการออกระเบียบราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมว่าด้วยการปล่อย
้
ชั่วคราว พ.ศ. ๒๕๔๘ ก าหนดหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการยื่นและสั่งค าร้องขอปล่อยชั่วคราว มีขอสังเกตว่า
ิ
การพจารณาอนุญาตหรือไม่อนุญาตให้ปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจ าเลยในขณะนั้นมุ่งเน้นเรื่องความหนักเบา
แห่งข้อหากับจ านวนและหลักประกันเป็นส าคัญ ท าให้เกิดความไม่เท่าเทียมกันในการได้รับอนุญาตให้ปล่อย
ชั่วคราว กล่าวคือ ผู้ต้องหาหรือจ าเลยที่มีฐานะยากจนจ านวนมากไม่อาจเข้าถึงสิทธิในการปล่อยชั่วคราวได้
เนื่องจากไม่สามารถหาหลักประกันยื่นต่อศาลได้ ท าให้ผู้ต้องหาหรือจ าเลยเหล่านี้ต้องถูกคุมขังทั้งที่ยังไม่มี
ค าพพากษาว่าตนเองได้กระท าความผิด ขาดโอกาสในการแสวงหาพยานหลักฐาน ครอบครัวได้รับความ
ิ
เดือดร้อน น ามาสู่ปัญหาความแออัดในเรือนจ า และปัญหาสังคมอื่นๆ ตามมา
้
เพื่อเป็นการแกไขปัญหาความเหลื่อมล้ าในการเข้าถึงสิทธิในการได้รับการอนุญาตให้ปล่อยชั่วคราวจึงมี
แนวความคิดในการน าเทคโนโลยีมาปรับใช้กับการปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจ าเลยซึ่งสามารถตรวจสอบที่อยู่
ั
ก ากับดูแลและติดตามผู้ถูกปล่อยชั่วคราวได้อย่างมีประสิทธิภาพ ขณะเดียวกันกให้ความส าคัญกับวงเงินประกน
็
๓๑ ปัจจุบัน ความในวรรคสามถูกยกเลิกโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
(ฉบับที่ ๓๐) พ.ศ. ๒๕๕๘ และให้ใช้ข้อความอื่นแทน ซึ่งผู้เขียนจะได้กล่าวต่อไป