Page 512 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 512

๕๐๐




                                                                       ิ
                                                                                                  ี
                 ในคดีก่อนที่จะน าคดีขึ้นสู่ศาล เนื่องจากเห็นว่ามีแต่องค์คณะผู้พพากษาที่เป็นกลางและไม่ล าเอยงเท่านั้นที่
                 เชื่อถือได้
                        ๒๑
                                ในการก าหนดนโยบายของรัฐเกี่ยวกับกระบวนการยุติธรรมทางอาญาต้องน าหลักการทั้งสอง
                                                                                             ั
                 มาประกอบกันเสมอ ซึ่งกระบวนการยุติธรรมที่ดีนอกจากจะต้องมีประสิทธิภาพในการป้องกนและปราบปราม
                                  ้
                 อาชญากรรมและแกไขปรับปรุงให้ผู้กระท าความผิดกลับตัวเป็นคนดีและเข้าสู่สังคมได้แล้ว จะต้องมีมาตรการที่
                 ให้ความคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของบุคคลที่เกี่ยวข้องในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาทุกขั้นตอนด้วย ดังนั้น

                                                                                                      ุ้
                 ประสิทธิภาพหรือความส าเร็จของกระบวนการยุติธรรมทางอาญาจึงขึ้นกับการประสานหลักการในการคมครอง
                 สิทธิขั้นพนฐานของประชาชนในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาให้สอดคล้องกับหลักเกณฑ์ในประมวลกฎหมาย
                         ื้
                 วิธีพจารณาความอาญา โดยค านึงถึงดุลยภาพระหว่างหลักการควบคุมอาชญากรรม (Crime  Control) และ
                     ิ
                 หลักความชอบด้วยกระบวนการทางกฎหมาย (Due  Process  of  Law) เรียกว่า "หลักการตรวจสอบและ

                 ถ่วงดุล" (Check and Balance) เพอสร้างความสมดุลระหว่างการปราบปรามอาชญากรรมของเจ้าหน้าที่รัฐ
                                               ื่
                 และการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน โดยเพิ่มกระบวนการตรวจสอบการใช้อานาจของเจ้าหน้าที่รัฐมิให้

                                                                          ๒๒
                 เกินขอบเขตที่ก าหนดอันจะเป็นการละเมิดสิทธิเสรีภาพของประชาชน
                       ๒.๓. แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการปล่อยชั่วคราว


                           การปล่อยชั่วคราวเป็นมาตรการทางกฎหมายที่ส าคัญประการหนึ่งที่บัญญัติขึ้นเพอคุ้มครองสิทธิ
                                                                                               ื่
                 เสรีภาพของผู้ต้องหาหรือจ าเลย โดยผ่อนคลายการจ ากัดสิทธิเสรีภาพของบุคคลดังกล่าวจากการถูกควบคุมตัว

                 ในระหว่างการพิจารณาคดี  ซึ่งการปล่อยชั่วคราวมีแนวคิดทฤษฎีที่ส าคัญดังนี้

                           ๒.๓.๑ ทฤษฎีกฎหมายธรรมชาติ (The Natural Law Theory) และทฤษฎีกฎหมายบานเมือง
                                                                                                     ้
                 (The Positive Law Theory)

                                ๒.๓.๑.๑ ทฤษฎีกฎหมายธรรมชาติ (The Natural Law Theory)


                                         ทฤษฎีนี้ถือว่าสิทธิเสรีภาพของบุคคลเป็นเหตุผลและความยุติธรรมที่มีอยู่แล้วตาม
                 ธรรมชาติ เป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชนทุกคนและอยู่เหนือกฎหมายที่ผู้ปกครองรัฐได้ตราขึ้น แนวความคิดนี้

                 มีทฤษฎีที่สนับสนุนจ านวนมาก ทฤษฎีที่ส าคัญคือทฤษฎีสัญญาประชาคม (The Social Contract Theory)

                 ของจอห์น ล็อค (John Locke) นักปรัชญาชาวอังกฤษที่เชื่อว่า ธรรมชาติของทุกคนเป็นคนดี ความไม่ดีเกิดจาก



                       ๒๑  ประธาน วัฒนวานิช, “ระบบความยุติธรรมทางอาญา : แนวความคิดเกี่ยวกับการควบคุมอาชญากรรมและกระบวนการนิติ
                 ธรรม,” วารสารนิติศาสตรมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ๙, (กุมภาพันธ์ ๒๕๒๐): น. ๑๕๒.
                                    ์
                                                       ์
                       ๒๒  กิตติพงษ์ กิติยารักษ์, กระบวนการยุติธรรมบนเส้นทางการเปลี่ยนแปลง (กรุงเทพมหานคร: ส านักพิมพ์วิญญูชน, ๒๕๔๓),
                 น. ๑๑.
   507   508   509   510   511   512   513   514   515   516   517