Page 509 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 509

๔๙๗




                                 บทบัญญัติมาตรานี้สะท้อนถึงหลักความเสมอภาคหรือที่เรียกว่า "หลักความเสมอภาคต่อหน้า
                 กฎหมาย" (Equality Before the Law) โดยเป็นการรับรองสิทธิของประชาชนที่จะได้รับการปฏิบัติจากรัฐ


                 อย่างเท่าเทียมกัน หมายความว่า องค์กรผู้ใช้อานาจรัฐทั้งหลายต้องปฏิบัติต่อบุคคลที่เหมือนกันในสาระส าคัญ
                 อย่างเดียวกัน และปฏิบัติต่อบุคคลที่แตกต่างกันในสาระส าคัญให้แตกต่างกันออกไปตามลักษณะเฉพาะของ

                 แต่ละคน การปฏิบัติต่อบุคคลที่เหมือนกันในสาระส าคัญให้แตกต่างกันก็ดี การปฏิบัติต่อบุคคลที่แตกต่างกัน

                                                                     ๑๖
                 ในสาระส าคัญให้เหมือนกันก็ดี ย่อมขัดต่อหลักความเสมอภาค
                                 มาตรา ๒๘  วรรคแรก บัญญัติว่า “บุคคลย่อมมีสิทธิและเสรีภาพในชีวิตและร่างกาย”


                                                                              ั
                                            วรรคสอง บัญญัติว่า “การจับและการคุมขงบุคคลจะกระทามิได้ เว้นแต่มีคาสั่ง

                 หรือหมายของศาลหรือมีเหตุอย่างอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ”
                                 มาตรา ๒๙ วรรคสอง บัญญัติว่า “ในคดีอาญา ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าผู้ต้องหาหรือจ าเลย
                 ไม่มีความผิด และก่อนมีค าพพากษาอนถึงที่สุดแสดงว่าบุคคลใดได้กระท าความผิด จะปฏิบัติต่อบุคคลนั้น
                                          ิ
                                                 ั
                 เสมือนเป็นผู้กระท าความผิดมิได้”

                                                                                                         ี
                                           วรรคสาม บัญญัติว่า “การควบคุมหรือขังผู้ต้องหาหรือจ าเลยให้กระท าได้เพยง
                 เท่าที่จ าเป็น เพื่อป้องกันมิให้มีการหลบหนี”

                                           วรรคห้า บัญญัติว่า “ค าขอประกันผู้ต้องหาหรือจ าเลยในคดีอาญาต้องได้รับการ

                                                             ิ
                 พิจารณาและจะเรียกหลักประกันจนเกินควรแก่กรณีมได้ การไม่ให้ประกันต้องเป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ”
                                 สิทธิที่จะได้รับการปฏิบัติอย่างผู้บริสุทธิ์ในฐานะผู้ต้องหาหรือจ าเลยจนกว่าจะมีค าพิพากษา

                 ถึงที่สุดว่าผู้นั้นกระท าผิดเป็นบทบัญญัติที่สอดคล้องกับปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (Universal
                 Declaration of Human Rights : UDHR) ข้อ ๑๑ (๑) ดังที่กล่าวไปข้างต้น ซึ่งบทบัญญัติในมาตรานี้ค านึงถึง

                 ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ โดยก าหนดสิทธิของบุคคลว่าสิทธิของบุคคลนั้นต้องได้รับความคุ้มครองแม้บุคคลเช่น
                 ว่านั้นจะตกเป็นผู้ต้องหาหรือจ าเลยในคดีอาญาก็ตามก็ต้องได้รับการสันนิษฐานไว้ก่อนว่าไม่มีความผิดจนกว่า

                        ิ
                 จะมีค าพพากษาถึงที่สุดว่าบุคคลนั้นได้กระท าความผิดจริง หลักการนี้ส่งผลให้เกิดแนวคิดในการปล่อยชั่วคราว
                 ผู้ต้องหาหรือจ าเลยในระหว่างถูกด าเนินคดีโดยให้ปล่อยชั่วคราวเป็นหลัก การควบคุมหรือขังผู้ต้องหาหรือ
                 จ าเลยกระท าได้เท่าที่จ าเป็นเพอป้องกันมิให้หลบหนี ส่วนการขอประกันตัวหรือปล่อยชั่วคราวอาจมีการเรียก
                                           ื่
                 หลักประกันได้ แต่จะเรียกหลักประกันสูงเกินสมควรมิได้ ทั้งนี้ เพอให้ผู้ต้องหาหรือจ าเลยไม่ถูกจ ากัดอสรภาพ
                                                                                                     ิ
                                                                       ื่
                                                                                  ้
                 ดังเช่นผู้กระท าความผิด และมีโอกาสได้แสวงหาพยานหลักฐานในการต่อสู้คดีไดอย่างเต็มที่



                                               ื้
                       ๑๖  วรพจน์ วิศรุตพิชญ์, หลักการพนฐานของกฎหมายปกครอง, (กรุงเทพมหานคร: บริษัทธรรมสาร จ ากัด, ๒๕๓๘), น.
                    ๓๔ - ๓๕.
   504   505   506   507   508   509   510   511   512   513   514