Page 505 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 505

๔๙๓




                                หลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ สิ้นสุดลง แนวคิดด้านสิทธิมนุษยชนได้รับการยอมรับและให้
                                                        ั
                 ความส าคัญจากทั่วโลกมากขึ้นจนน าไปสู่การพฒนากฎหมายสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ (International
                 Human Rights Laws) ซึ่งเป็นหลักการ ข้อตกลง ระบบและกลไกด้านสิทธิมนุษยชนที่เป็นมาตรฐานและได้รับ
                 การยอมรับในระดับสากลเพื่อปกป้องคุ้มครองสิทธิมนุษยชนของทุกคน


                                  ๒.๑.๑.๑ ปฏิญญาสากลวาด้วยสิทธิมนุษยชน (Universal Declaration of Human
                                                       ่
                 Rights : UDHR)


                                   ปฏิญญาฉบับนี้ถือเป็นตราสารที่ส าคัญฉบับหนึ่งของประวัติศาสตร์สิทธิมนุษยชน ยกร่าง
                 โดยตัวแทนจากนานาประเทศซึ่งมีทั้งความหลากหลายทางด้านกฎหมายและวัฒนธรรมจากทั่วทุกภูมิภาค

                 ทั่วโลกโดยสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ (United Nations General Assembly) ซึ่งประกอบด้วยสมาชิก

                 จากประเทศต่างๆ ได้ลงมติรับรองและประกาศใช้ปฏิญญาฉบับนี้อย่างเป็นทางการ ณ กรุงปารีส เมื่อวันที่
                 ๑๐ ธันวาคม ค.ศ. ๑๙๔๘ ปฏิญญาฉบับนี้ถือเป็นมาตรฐานส าคัญที่ใช้กับทุกคนและทุกประเทศ โดยเป็น

                                                                             ๓
                 จุดเริ่มต้นของการให้ความคุ้มครองสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานในระดับสากล
                                   ปฏิญญาฉบับนี้แม้จะไม่มีผลบังคับทางกฎหมายดังเช่นสนธิสัญญา อนุสัญญาหรือ

                                                                ิ
                 ความตกลงระหว่างประเทศแต่กลับมีความส าคัญและมอทธิพลไปทั่วโลก และถือเป็นหลักเกณฑ์ส าคัญในการ
                                                              ี
                                                                            ื้
                 ปฏิบัติเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนที่ประเทศทั่วโลกรับรองเนื่องจากเป็นพนฐานในการด าเนินงานขององค์การ
                 สหประชาชาติ และเป็นพื้นฐานส าคัญของสนธิสัญญาหรือกฎหมายระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชนอีกหลาย

                     ๔
                 ฉบับ  โดยมาตราที่เกี่ยวข้องกับสิทธิในการคุ้มครองผู้ต้องหาหรือจ าเลยในการปล่อยชั่วคราวมีดังนี้
                                          มาตรา ๑ “มนุษย์ทั้งหลายเกิดมามีอสระและเสมอภาคกันในเกียรติศักดิ์และ
                                                                          ิ
                 สิทธิ...”
                       ๕
                                                                                                  ๖
                                          มาตรา ๙ “บุคคลใดจะถูกจับกุม กักขัง หรือเนรเทศโดยพลการมิได้”
                                          มาตรา ๑๑ (๑) “บุคคลซึ่งถูกกล่าวหาว่ากระท าความผิดอาญามีสิทธิที่จะได้รับ

                                                                 ิ
                 การสันนิษฐานไว้ก่อนว่าเป็นผู้บริสุทธิ์จนกว่าจะมีการพสูจน์ได้ว่าได้กระท าความผิดตามกฎหมายในการ
                 พิจารณาที่เปิดเผย ณ ที่ซึ่งตนได้รับหลักประกันทั้งหมดที่จ าเป็นในการต่อสู้คดี”
                                                                                 ๗




                        ๓  United Nations, The Universal Declaration of Human Rights [Online], Accessed September 9,

                  2018.     http://www.un.org/en/universal-Declaration-Human-Rights.
                        ๔  ส านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, เส้นทางสู่สิทธิมนุษยชนศึกษา, น. ๒๗.
                        ๕  Article 1 All human beings are born free and equal in dignity and rights. ...

                        ๖  Article 9 No one shall be subjected to arbitrary arrest, detention or exile.
   500   501   502   503   504   505   506   507   508   509   510